Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66465
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธัญยรัตน์ ติยอภิสิทธิ์en_US
dc.contributor.authorอรรถพล สมุทคุปติ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 127-141en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/13.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66465-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจในการคัดเลือกผู้ให้บริการการบำรุงรักษายานพาหนะ โดยใช้กระบวนการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์โดยการให้ค่าน้ำหนักความสำคัญต่างๆในการคัดเลือกผู้ให้ บริการการบำรุงรักษายานพาหนะ 3 ประเภทงาน คือ ประเภทงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบเครื่องยนต์ประเภทงาน บำรุงรักษาเชิงป้องกันยาง และประเภทงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบช่วงล่าง ซึ่งหลักเกณฑ์สำคัญในการพิจารณาคือ ต้นทุน ความเป็นรูปธรรมของบริการ ความเชื่อถือได้การตอบสนอง และการทำให้เชื่อมั่นเพื่อหาผู้ให้บริการที่ดีที่สุด โดยได้มีการประยุกต์ใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงลำดับชั้น และ ทฤษฎีฟัซซี่เซตมาเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดความสัมพันธ์ ระหว่างเกณฑ์การตัดสินใจที่กล่าวมาข้างต้น และผลกระทบที่มีต่อกันและกันรวมทั้งได้วิเคราะห์ค่าความสอดคล้องของแต่ละเกณฑ์ด้วยเมื่อพิจารณาการคำนวณค่าน้ำหนักของแต่ละเกณฑ์โดยกระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้นแบบคลุมเครือทำให้ทราบว่าเกณฑ์ที่มีค่าน้ำหนักความสำคัญมากที่สุดคือเกณฑ์ด้านความเชื่อถือได้(41.92%) ด้านต้นทุน (29.90%) ด้านการตอบสนอง (18.16%) ดา้นการทำให้เชื่อมั่น (5.69%) และด้านความเป็นรูปธรรม (4.34%) ตามลำดับจากการศึกษาและวิเคราะห์พบว่า ผู้ให้บริการประเภทงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบเครื่องยนต์ที่มีความเหมาะสมที่สุด คือ A1 (40.1%) A2 (36.4%) และ A3 (23.5%) ผู้ให้บริการประเภทงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันยางที่มีความเหมาะสมที่สุดคือ B2 (51.9%) และ B1 (48.1%) ผู้ให้บริการประเภทงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบช่วงล่วงที่มีความเหมาะสมที่สุดคือ C1 (51.4%) C2 (24.8%) และ C3 (22.9%) ตามลำดับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleตัวแบบในการคัดเลือกผู้ให้บริการการบำรุงรักษายานพาหนะโดยอาศัยเทคนิคฟัซซี่ เอเอชพีen_US
dc.title.alternativeSelection Model of Vehicle’s Maintenance Service Providers by Using Fuzzy AHP Techniqueen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.