Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66464
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธนากร ภูเงินขำ | en_US |
dc.contributor.author | สกลวรรณ ห่านจิตสุวรรณ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 81-88 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/09.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66464 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้ศึกษาการใช้ประโยชน์จากเถ้าหนักเป็นวัสดุจีโอโพลิเมอร์โดยมีการศึกษาปัจจัยของปริมาณการแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์และอตัราส่วนสารละลายต่อวัสดุประสานที่มีต่อสมบัติทางกายภาพของวัสดุจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ โดยใช้อัตราส่วนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในเถ้าหนัก เท่ากับ 0:100, 10:90, 20:80 และ 30:70 และใช้สารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 10 โมลาร์และสารละลายโซเดียมซิลิเกตเป็นของเหลวในส่วนผสม ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า การเพิ่มอัตราส่วนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในเถ้าหนัก และอัตราส่วนสารละลายต่อวัสดุประสานส่งผลต่อสมบัติ เชิงกลของวัสดุจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ ระยะเวลาก่อตัวของวัสดุจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์มีค่าลดลงเมื่อปริมาณการแทนที่ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เพิ่มขึ้น การใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์แทนที่เถ้าหนักมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาของผลิตภัณฑ์ภายใน วัสดุจีโอโพลิเมอร์ส่วนผสมที่มีอัตราส่วนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในเถ้าหนักเท่ากับ 30:70 และใช้อัตราส่วนสารละลาย ต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.9 มีค่ากำลังรับแรงอัดสูงสุด เท่ากับ 16.67 เมกะปาสคาลสำหรับขนาดโพรงและการดูดซึมน้ำพบว่ามีค่าลดลงเมื่อปริมาณการแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เพิ่มขึ้น ซึ่งผลการทดลองที่ได้สอดคล้องกับผลการทดสอบ กำลังรับแรงอัด | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ต่อสมบัติทางกายภาพของเถ้าหนักจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ | en_US |
dc.title.alternative | Effect of Portland cement on physical properties of bottom ash geopolymer mortar | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.