Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66462
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เดชาวุธ กาญจนกรัณย์กุล | en_US |
dc.contributor.author | วารุณี เตีย | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 98-111 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/11.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66462 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ทำการวิเคราะห์การใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของการขนส่งไปรษณีย์ภัณฑ์ในส่วนงานไปรษณีย์ด่วนพิเศษในเขตนครหลวง โดยมีศูนย์ไปรษณีย์หลักสี่เป็นศูนย์กลางกระจายไปรษณีย์ภัณฑ์ซึ่งทำการขนส่งระหว่างศูนย์กลางฯ กับศูนย์ไปรษณีย์สุวรรณภูมิที่ทำการไปรษณีย์ 18 แห่งในเขตนครหลวงเหนือ และที่ทำการไปรษณีย์ 15 แห่งในเขตนครหลวงใต้จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้พบว่าน้ำหนักเฉลี่ยของไปรษณีย์ภัณฑ์มีค่าเพียงร้อยละ 12.16 ของ น้ำหนักรถบรรทุก ดังนั้นแนวทางในการลดปริมาณการใช้น้ำมัน ดีเซลและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงพิจารณาให้ขึ้นกับเงื่อนไขของปริมาตรบรรทุกในกรณีที่ปริมาตรบรรทุกไปรษณียภัณฑ์ต่อเที่ยวของแต่ละที่ทำการไปรษณีย์มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 50 ของปริมาตรรถบรรทุก เส้นทางการเดินรถควรจะเพิ่มต่อไปได้อีกหนึ่งที่ทำการไปรษณีย์โดยเส้นทางที่เหมาะสม หาได้โดยใช้วิธีลำดับการประหยัดแบบฮิวริสติกส์(Sequential Saving Heuristic) ผลพบว่าปริมาณการใช้เชื้อเพลิงและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อรอบการเดินรถระหว่างศูนย์ไปรษณีย์หลักสี่กับที่ทำการไปรษณีย์ในเขตนครหลวงเหนือและนครหลวงใต้ลดลงได้ร้อยละ 36 และ43 ตามลำดับนอกจากนี้ในกรณีที่ปริมาตรบรรทุกไปรษณีย์ภัณฑ์ต่อเที่ยวมีค่าน้อยกว่า ร้อยละ 20 ของปริมาตรรถบรรทุกและมีข้อจำกัดด้านเวลาของการขนส่งได้เสนอให้ใช้รถบรรทุกที่มีขนาดเล็กลงและเดินรถตามเส้นทางเดิม สามารถลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อรอบการเดินรถระหว่างศูนย์ ไปรษณีย์หลักสี่กับที่ทำการไปรษณีย์ในเขตนครหลวงเหนือและนครหลวงใต้ได้ร้อยละ 51 และ 52 ตามลำดับเมื่อปริมาตร การขนส่งระหว่างศูนย์ไปรษณีย์หลักสี่กับศูนย์ไปรษณีย์สุวรรณภูมิมีค่านอ้ยกว่า ร้อยละ 50 ของปริมาตรบรรทุกการเลือกใช้ รถบรรทุกขนาดเล็กลงจะส่งผลให้ลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ร้อยละ 10.3 | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การขนส่งทางรถบรรทุก | en_US |
dc.subject | การประหยัดพลังงาน | en_US |
dc.subject | การปล่อยก๊าซกระจก | en_US |
dc.subject | ไปรษณียภัณฑ์ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์การใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของการขนส่งไปรษณียภัณฑ์ในเขตนครหลวง | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of Energy Consumption and Greenhouse Gas (GHG) Emission of Parcel Post in the Metropolitan Area | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.