Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุทธิเทพ รมยเวศม์en_US
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ ดุลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 25-30en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/03.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66457-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractแร่ทองแดงชนิดคาลโคไพไรท์(Chalcopyrite) ที่เกิดร่วมในแหล่งแร่เหล็กทุ่งทอง ต.ทุ่งทอง อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ซึ่งมีผลทำให้เปอร์เซ็นตแ์ร่เหล็กในแหล่งดังกล่าวมีค่าลดลงจึงไดน้ำตัวอย่างแร่ มาทำการทดลองเพื่อแยกแร่ ทองแดงออกจากแร่เหล็กโดยนำไปแต่งด้วยวิธีอาศัยความแตกต่างของความถ่วงจำเพาะด้วยโต๊ะแยกแร่ (Shaking Table) และวิธีการลอยแร่ (Flotation) ซึ่งตัวอย่างแร่ที่เก็บจากหน้าเหมืองเพื่อนำมาทดลองจะมีเปอร์เซ็นต์โลหะทองแดงประมาณ 7-8% โดยขนาดของแร่ที่นำไปแต่งด้วยวิธีอาศัยความแตกต่างของความถ่วงจำเพาะและวิธีการลอยแร่คือ-25 +45 เมช และ – 80 เมช ตามลำดับซึ่งผลการแต่งด้วยวิธีอาศัยความแตกต่างของความถ่วงจำเพาะได้ผลการแต่งที่ไม่ดีนักโดยหัวแร่มีเปอร์เซ็นต์โลหะทองแดงเพิ่มขึ้นจาก 8.86% เป็น 11.80% แต่ผลการแต่งด้วยวิธีลอยแร่ให้ผลเป็นที่น่าพอใจคือมีเปอร์เซ็นต์โลหะทองแดงในหัวแร่เพิ่มขึ้นจาก 7.65% เป็น 27.38% และมีเปอร์เซ็นต์การเก็บโลหะทองแดง (Percent Recovery) ได้เท่ากับ 75.88% ที่ค่า pH=11 ปริมาณ K-Ethyl Xanthate 10% จำนวน 25 g/ton แร่ป้อนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการแต่งแร่คาลโคไพไรท์แหล่ง ต.ทุ่งทอง อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์en_US
dc.title.alternativeProcessing of Chalcopyrite from Thungtong Sub-District, NongBou District, Nakronsawon Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.