Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปวีย์ธิดา พัฒน์อภิพงษ์en_US
dc.contributor.authorปุณณมี สัจจกมลen_US
dc.contributor.authorไอลดา ตรีรัตน์ตระกูลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 226-233en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/19Paweetida.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66453-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาการจัดตารางการผลิตแผ่นพื้นสำเร็จรูป ซึ่งมีขนาดความยาวแผ่น ขนาดเส้นลวด และจำนวนเส้น ลวดแตกต่างกัน เนื่องจากกระบวนการผลิตแผ่นพื้นสำเร็จรูป ต้องผลิตภายในแม่แบบเดียวกันซึ่งแม่แบบมีขนาดความยาวคงที่ ประกอบกับการผลิตต้องคำนึงถึงการใช้ประโยชน์ของทรัพยากร ผู้ผลิตจำเป็นต้องผลิตสินค้าเกินความต้องการของลูกค้าทำให้ประสบปัญหาพื้นที่จัดเก็บไม่ เพียงพอผู้วิจัยจึงเสนอวิธีการจัดตารางการผลิตโดยวิธีฮิวริสติก ได้แก่ Earliest Due Date (EDD), First Come First Serve (FCFS), Shortest Processing Time (SPT), Minimum Slack Time (MST), Critical Ratio (CR) และกำหนดรายการสินค้าคงคลังเพื่อควบคุมปริมาณสินค้าคงคลัง ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพของการศึกษานี้ไดแ้ก่จำนวนงานล่าช้า, เวลาล่าช้ารวม, เวลาล่าช้าสูงสุด, ปริมาณสินค้าคงคลัง, ต้นทุนการจัดเก็บสินคา้คงคลัง, พื้นที่ที่ใช้ในการจัดเก็บสินค้าคงคลัง, ร้อยละการใช้ประโยชน์ของแม่แบบ และมูลค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากนั้นเปรียบเทียบผลการจัดตารางผลิตวิธีฮิวริสติกแต่ละวิธีกับวิธีเดิมและพัฒนาการจัดตารางการผลิตวิธีใหม่คือ Shortest Processing Time (SPT) + Slack Time1 (Slack1) จากการศึกษาพบว่าวิธีSPT+Slack1 สามารถลดจำนวนงานล่าช้าได้มากที่สุดจาก 170 งาน เหลือ 95 งาน (ลดได้ร้อยละ 44.12) และลดปริมาณสินค้าคงคลังได้มากที่สุด จาก 5,085 แผ่น/วัน เหลือ 4,164 แผ่น/วัน (ลดได้ร้อยละ 21.32) ซึ่งทา ให้สามารถใช้พื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลังภายใต้ขีดจำกัดที่โรงงานมีโดยใช้พื้นที่ร้อยละ 52.96 และประหยัดต้นทุนรวมได้ 1,278,938 บาท/ปี(ลดได้ร้อยละ 8.34)en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดตารางการผลิตโดยใช้วิธีฮิวริสติกแบบผสม กรณีศึกษา: โรงงานคอนกรีตผสมเสร็จen_US
dc.title.alternativeProduction Scheduling using Hybrid Heuristics Method: A Case Study of Ready-Mixed Concrete Planten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.