Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66446
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุชาดา สิทธิ์จงสถาพร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 147-155 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/12Suchada.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66446 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | บทความนนา เสนอเกี่ยวกับการออกแบบเพื่อหาขนาดของครีบชนิดสามเซกเมนต์ที่เหมาะสมภายในท่ออบแห้ง แบบหมุนระดับอุตสาหกรรมสำหรับการอบแห้งแบบโปรยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการออกแบบจะใช้พื้นฐาน ตรีโกณมิติและพีชคณิตร่วมกับ การตั้งสมมติฐานจากการใช้งานจริงเพื่อให้สัมพันธ์กับขนาดของวัสดุที่นำมาใช้ในการอบแห้งแบบโปรยภายในท่อหมุนและระยะโปรยสูงสุดของอนุภาคของแข็งที่ตกจากปลายครีบขณะท่อหมุน ซึ่งเป็นบริเวณที่อนุภาคของแข็งได้สัมผัสกับลมร้อนในระหวา่งที่ของแข็งตกลงมา บทความนี้มีวัตถุประสงคเ์พื่อนำเสนอวิธีการออกแบบคำนวณครีบสามเซกเมนต์อย่างง่ายแล้วนำผลที่ไดเ้ปรียบเทียบกับขนาดของครีบสามเซกเมนต์ที่ได้มีการนำเสนอมาแล้ว โดยวิธีการที่นำเสนอด้วยการใช้สูตรคำนวณอย่างง่ายสามารถออกแบบได้ใกล้เคียงกับในบทความที่ได้นำเสนอมาแล้วผลที่ได้จากการออกแบบนั้นเมื่อนำไปคำนวณเปรียบเทียบกับ ตัวอย่างของครีบชนิดสามเซกเมนต์ที่มีการใช้งานในปัจจุบันโดยแบ่งตามขนาดของอนุภาคของแข็งชนิดเดียวกันที่มีขนาดต่างกันพบว่ากรณีที่ของแข็งมีขนาดระหว่าง 1-10 มม. นั้นสามารถคำนวณขนาดของครีบสามเซกเมนต์ภายในท่อหมุน ด้วยวิธีการออกแบบที่นำเสนอนั้นโดยมีเปอร์เซ็นต์ผิดพลาดของระยะ โปรยสูงสุด เท่ากับ 3.04% ส่วนกรณีที่ของแข็งมีขนาดน้อยกว่า1 มม. สามารถคำนวณขนาดของครีบสามเซกเมนต์ภายในท่อหมุนที่ได้จากวิธีการออกแบบที่นำเสนอโดยมีเปอร์เซ็นต์ผิดพลาดของระยะโปรยสูงสุด เท่ากับ 2.08% ซึ่งทั้งสองกรณี สามารถคำนวณขนาดของครีบสามเซกเมนต์ภายในท่อหมุนได้ค่าใกล้เคียงกับขนาดของครีบสามเซกเมนต์ในระดับอุตสาหกรรมที่มีใช้งาน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การออกแบบครีบแบบสามเซกเมนต์ภายในท่ออบแห้งแบบหมุนระดับอุตสาหกรรม | en_US |
dc.title.alternative | Design of 3-segment Flights within an Industrial Rotary Dryer | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.