Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเจนวิทย์ เกษมทรัพย์en_US
dc.contributor.authorธนพร สุปริยศิลป์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 66-81en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/06Janewit.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66441-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางปฏิบัติการที่เหมาะสมสำหรับอ่างเก็บน้ำ เขื่อนภูมิพลในการบรรเทา อุทกภัย โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลอง HEC-ResSim ภายใต้เกณฑค์วบคุมระดับน้ำตอนบน 4 เส้น ประกอบด้วยระดับควบคุมตอนบนเดิม ระดับควบคุมตอนบนที่ปรับปรุงใหม่ปีพ.ศ. 2555 ระดับควบคุมตอนบนที่ผู้ศึกษาเสนอ1 และ2 และ การใช้ระดับควบคุมตอนบนทั้ง 4 เส้น พร้อมกับการควบคุมปริมาณน้ำ ที่สถานีควบคุม P.17 ไม่ให้เกินความจุสูงสุดเท่ากับ 1,815 ลบ.ม./วินาทีอีก 4 กรณีรวมทั้งหมดเป็น 8 กรณีโดยทำการจำลองในช่วงฤดูฝนเริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคมถึงปลาย เดือนตุลาคม ในปีพ.ศ. 2549 และ 2554 ซึ่งเกิดเหตุการณ์น้ำ ท่วมครั้งใหญ่ในประเทศไทยและได้ใช้แบบจำลอง HECHMS มาช่วยในคำนวณปริมาณน้ำสมทบในลุ่มน้ำย่อยเพื่อเป็นข้อมูลนำเข้าสำหรับแบบจำลอง HEC-ResSim ผลการศึกษาพบว่าระดับควบคุมตอนบนที่ดีที่สุดสำหรับการปฏิบัติการระบบอ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพลในการบรรเทาอุทกภัย ในปีพ.ศ. 2549 และ2554 คือระดับควบคุมตอนบนที่ผู้ศึกษานำเสนอ 1 ร่วมกับการควบคุมปริมาณน้ำ ที่สถานีP.17 และ ระดบัควบคุมตอนบนที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ในปีพ.ศ. 2555 ร่วมกับการควบคุมปริมาณน้ำที่สถานีP.17 จะสามารถช่วยในการ บรรเทาน้ำท่วมที่สถานีควบคุม P.17 ตามลำดับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปฏิบัติการอ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพลเพื่อการบรรเทาอุทกภัยด้วยแบบจำลอง เฮก-เรสซิมen_US
dc.title.alternativeOperation of Bhumibol Reservoir for Flood Mitigation by HEC-ResSim Modelen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.