Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66438
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรากร ตันตระพงศธร | en_US |
dc.contributor.author | ทวีป ชัยสมภพ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 109-117 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/09Warakorn.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66438 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มุ่งเพื่อแสดงให้เห็นถึงปัญหาและความเสียหายที่เกิดขึ้นในโครงสร้างเหล็กต่างๆที่ตั้งอยู่ในสถานที่ที่แตกต่างกันรวมถึงแยกแยะและระบุปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดความเสียหายกับโครงสร้างเหล็ก ทั้งปัจจยัที่ส่งผลในทางอ้อม และปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของปัญหา โดยใช้วิธีการตรวจสอบพินิจเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจริง ตามมาตรฐานการตรวจสอบ ของไทยและสากลและสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบำรุงรักษาโครงสร้างนั้นๆโดยตรง เพื่อให้ทราบถึงมาตรการ การรับมือความเสียหายและปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับโครงสร้าง ทั้งขณะสร้างและหลังสร้าง ซึ่งผลการวิจัยและรวบรวม ข้อมูลได้แสดงให้เห็นว่าโครงสร้างเหล็กส่วนใหญ่นั้นประสบกับปัญหาการเกิดสนิม และความเสื่อมสภาพของสีกันสนิม โดยความรุนแรงของความเสียหายนั้นขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมของโครงสร้างและความสม่ำเสมอของการบำรุงรักษา โครงสร้างซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรงแต่มีความเสียหายบางประเภทที่เกิดจากปัจจยัทางอ้อม เช่น ความบกพร่องของรอย เชื่อมที่มีสาเหตุมาจากขั้นตอนการก่อสร้างที่ไม่ดีช่างเชื่อมขาดความชำนาญ และขาดขั้นตอนการตรวจสอบที่ถูกต้องโดยในงานวิจยัฉบับนี้ได้ให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาไปใน 2 ทิศทาง คือ การแก้ปัญหาระบบการบำรุงรักษาที่ไม่ดีและการ แก้ปัญหาขั้น ตอนการก่อสร้างที่ไม่ดีสำหรับทิศทางแก้ปัญหาทิศทางแรกเสนอให้มีการร่างมาตรฐานหรือแนวทางในการ ตรวจสอบและการบำรุงรักษาโครงสร้างเหล็กและสำหรับทิศทางที่สองเสนอให้มีการร่างและเฉยแพร่ข้อกำหนดของวัสดุ เพื่อควบคุมคุณภาพของวัสดุเหล็กที่มาจากผู้ผลิตต่าง ๆ ทั้งในประเทศและนอกประเทศและร่างหนังสือคู่มือการก่อสร้างสำหรับโครงสร้างเหล็กให้มีความแข็งแรงทนทาน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัญหาและความเสียหายของโครงสร้างเหล็กในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Problem and Damage of Steel Structure in Thailand | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.