Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66432
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์en_US
dc.contributor.authorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 222-232en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/19.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66432-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์กับสายงานผลิตไฟฟ้าซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงานทางด้านการเงิน และระบบการบริหารจัดการองค์กรโดยมีตัวชี้วดคือค่ากำไรเชิงเศรษฐศาสตร์โดยเปรียบเทียบระหว่างกำไรหลังจากหักภาษีกับต้นทุนเงินทุน โดยมีสมมติฐานการจัดเก็บรายได้จากสัญญาการซื้อขายไฟฟ้า ภายใน ที่ประกอบค่าความพร้อมจ่ายและรายได้จากค่าเชื้อเพลิงใช้วิธีการวิเคราะห์ความไวในการกำหนดเป้าหมายของแผนการเพิ่มมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ซึ่งได้แก่แผนเพิ่มส่วนต่างค่าเชื้อเพลิง, แผนเพิ่มค่าความพร้อมจ่าย และแผนลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่ควบคุมได้ใช้วิธีการคำนวณอัตราต้นทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงนหนักของสายผลิตไฟฟ้าเท่ากับ 6.43% และกำหนดภาษีเชิงเศรษฐศาสตร์20% และวิเคราะห์กำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างของโรงไฟฟ้าในสายงาน 5 โรงไฟฟ้าซึ่งได้แก่โรงไฟฟ้า A และ D ประเภทพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าถ่านหิน B, โรงไฟฟ้าพลังน้ำ C และโรงไฟฟ้า E พลังงานความร้อนที่ใช้น้ำมันเตาและน้ำมันปาลม์ เป็นเชื้อเพลิง โดยในปีพ.ศ.2558 ในภาพรวมสายงานปีสูงกว่าค่าประมาณการ 3,617 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากแผนกลยทุธ์ทั้ง 3 แผนจำนวน 753 ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบค่าจริงกำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ พ.ศ.2558 กับ ปี2559 พบว่าภาพรวมสายงานผลิตไฟฟ้ามีค่าลดลง 512 ล้านบาท และโรงไฟฟ้า A ลดลง 64 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า B เพิ่มขึ้น 1,312 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า C ลดลง 57 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า D เพิ่มขึ้น 91 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า E ลดลง 161 ล้านบาท โดยโรงไฟฟ้า A,B,D ควรเน้นแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ด้านเพิ่มส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงและเพิ่มค่าความพร้อมจ่าย โรงไฟฟ้า C ควรเน้นเพิ่มส่วนเกินชั่วโมงความพร้อมจ่ายและโรงไฟฟ้า C ควรเน้นด้านลดค่าใชจ่ายที่ควบคุมได้พร้อมทั้งขยายผลการศึกษากำไรเศรษฐศาสตร์ไปสู่โรงไฟฟ้าอื่น ๆ ในสังกัดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์en_US
dc.subjectกำไรเชิงเศรษฐศาสตร์en_US
dc.subjectอัตราต้น ทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักen_US
dc.subjectส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าen_US
dc.subjectส่วนเกินจำนวนชั่วโมงพร้อมจ่ายตามสัญญาen_US
dc.titleแนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeEconomic Value Added Analysis For Electricity Generation Fielden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.