Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรรถกร อาสนคำen_US
dc.contributor.authorชัญกฤช จันทพิมพะen_US
dc.contributor.authorพิเชษฐ์ ทานิลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 178-189en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/15.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66429-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคฝุ่นถ่านหินขนาดเล็กด้วยสเปรย์น้ำที่ถูกชาร์จ ประจุไฟฟ้าเทียบกับการดักจับฝุ่นขนาดเล็กด้วยสเปรย์น้ำที่ไม่มีประจุไฟฟ้าและสร้างเครื่องต้นแบบในการดักจับอนุภาคฝุ่น ขนาดเล็กด้วยละอองน้ำที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งอนุภาคที่ใช้ในการทดลองคือแป้งฝุ่นเป็นตัวแทนฝุ่นถ่านหิน ทำการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพในการดักจับฝุ่นโดยเปรียบเทียบจากน้ำหนกัของแผ่นกรองก่อนและหลังการทดสอ กรณีแรกจะทดสอบ ในห้องทดสอบขนาดสูง 3 เมตร กว้าง 2 เมตร ยาว 2 เมตร เพื่อหาประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาค โดยฉีดสเปรย์น้ำที่มี การชาร์จประจุไฟฟ้าขนาด 5 kV ที่อัตราการไหล 3.22 มิลลิลิตรต่อวินาทีกรณีที่สองจะทดสอบจะทดสอบในอุโมงค์ลมวางในแนวนอน เพื่อศึกษาอิทธิพลของความเร็วอากาศที่มีผลต่อการดักจับอนุภาคโดยทดสอบ 3 รูปแบบคือไม่มีการสเปรย์ น้ำสเปรย์น้ำและสเปรย์น้ำที่มีการชาร์จประจุจากการคำนวณเพื่อป้องกันการลัดวงจรของกระแสไฟฟ้าในอากาศจะติดตั้งลวดอิเล็กโทรดขนาดรัศมี0.05 เซนติเมตร ทำเป็นแบบวงแหวนขนาดเส้นผ่านศูนยก์ลาง 4 เซนติเมตร โดยให้เส้นลวดวางห่างจากหัวฉีด 2.2 เซนติเมตร การทดลองในกรณีแรกพบว่าเมื่อเพิ่มปริมาณแรงดันไฟฟ้าและระยะเวลาการสเปรย์น้ำส่งผลให้ประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคเพิ่มขึ้น กรณีที่สองพบว่าช่วงที่ความเร็วอากาศเป็น 0.1-0.3 เมตรต่อวินาทีเมื่อชาร์จประจุให้กับละอองน้ำประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคจะสูงขึ้นประมาณ 35% และช่วงที่ความเร็วอากาศเป็น 0.3-1 เมตรต่อวินาที ประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคของวิธีการสเปรย์น้ำที่มีประจุไฟฟ้าจะเริ่มมีค่าลดลงเข้าใกล้กับวิธีที่สเปรย์น้ำที่ไม่มีประจุไฟฟ้า แต่อย่างไรก็ตามวิธีการดักจับแบบที่มีการชาร์จประจุไฟฟ้าก็ยังคงมีประสิทธิภาพที่สูงกว่าโดยเฉลี่ยประมาณ 20%en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectละอองน้ำที่มีประจุไฟฟ้าen_US
dc.subjectประสิทธิภาพในการดักจับฝุ่นen_US
dc.subjectอุโมงค์ลมen_US
dc.subjectความเร็วอากาศen_US
dc.subjectอิเล็กโทรดแบบวงแหวนซ้อนแกนร่วมen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคฝุ่นถ่านหินขนาดเล็กด้วยการสเปรย์น้ำที่มีประจุไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeEfficiency Increase On Small Coal Dust Particles Capture By Electrical - Charged Water Sprayen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.