Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศุภชัย นาทะพันธ์en_US
dc.contributor.authorสมเกียรติ วัฒน์ปฐมทรัพย์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 190-198en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/16.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66427-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปริมาณยางคอมพาวนด์รีไซเคิลที่ส่งผลต่ออัตราการบวมตัวของ หน้ายางในกระบวนการอัดรีดโดยการประยุกต์การทดลองปัจจัยเชิงตัวประกอบแบบลดรูปของปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการทดลองมี3 บล็อกของปริมาณยางคอมพาวนด์รีไซเคิล (0, 20 และ 40 เปอร์เซ็นต์)อัตราการบวมตัวของแต่ละบล็อกจะถูกวัด ณ โหลดในการอัดรีด 3 ระดับ (1.720 1.735 และ 1.750 กิโลกรัมต่อเมตร) โดยทดลองอัดรีดหน้ายางสำหรับยางล้อขนาด 225/65R17 102H หน้ายางถูกอัดรีดด้วยเครื่องอัดรีดสกรูเดี่ยวและบันทึกน้ำหนัก ตัวอย่างที่ความยาว 500 มิลลิเมตรเพื่อนำไปคำนวณค่าอัตราการบวมตัวของหน้ายางผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าการใช้ยางคอมพาวนด์ รีไซเคิลมีอิทธิพลต่ออัตราการบวมตัวของหน้ายางโดยที่อัตราการการบวมตัวมีแนวโน้มลดลงเมื่อมีการใช้ยางคอมพาวนด์ รีไซเคิลและอัตราการบวมตัวของหน้ายางมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเมื่อโหลดในการอัดรีดสูงผู้ผลิตสามารถใช้ยางคอมพาวนด์รีไซเคิลได้สูงสุดที่ 40 เปอร์เซ็นต์และโหลดในการอัดรีดที่เหมาะสมเท่ากับ 1.720 กิโลกรัมต่อเมตรจึงจะทำให้อัตราการบวมตัวของหน้ายางมีค่าอยู่ในขีดจำกดัข้อกำหนดซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.60 ± 0.04en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการรีไซเคิลยางคอมพาวนด์อัตราการบวมตัวen_US
dc.subjectหน้ายางen_US
dc.subjectการออกแบบการทดลองen_US
dc.titleอิทธิพลของปริมาณยางรีไซเคิลที่ส่งผลต่ออัตราการบวมตัวของยางคอมพาวนด์ในกระบวนการอัดรีดหน้ายางen_US
dc.title.alternativeEffect of Recycle Ratio on Die Swell Ratio of Rubber Compound in Tread Extrusion Processen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.