Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกมลนัทธ์ อรุณรัตน์en_US
dc.contributor.authorวิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศen_US
dc.contributor.authorวรโชค ไชยวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 234-248en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/19.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66413-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการสั่งซื้อถุงบรรจุภัณฑ์อาหารสัตว์ของบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งประกอบไปด้วย 12 โรงงาน และผู้ผลิตถุงบรรจุภัณฑ์อาหารสัตว์3 ราย โดยพิจารณาถุงบรรจุภัณฑ์ทั้ งหมด 188 ชนิด ในปัจจุบัน การสั่งซื้อ ของแต่ละโรงงานจะเป็นอิสระต่อกัน พนักงานจัดซื้อวางแผนโดยไม่มีเครื่องมือใดๆช่วยตัดสินใจอาศัยเพียงประสบการณ์ ในการตัดสินใจเป็นผลให้เกิดต้นทุนจัดซื้อที่สูง บทความนี้ได้สร้างแนวทางการสั่งซื้อผ่านส่วนกลางโดยใช้โปรแกรมเชิง เส้นผสมจํานวนเต็ม (Mixed-Integer Programming) เพื่อช่วยตัดสินใจปัญหาที่ซับซ้อน ภายใต้เงื่อนไขที่บริษัทและผู้ผลิตกําหนด วิธีการนี้ช่วยลดต้นทุนจัดเก็บพัสดุคงคลัง ลดต้นทุนสินค้าและ ลดค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง จากการทดสอบกับ ข้อมูลจริงพบว่าในช่วงแรกระบบจะตัดสินใจนําพัสดุคงคลังที่ค้างอยู่มาใช้เป็นผลให้ระบบตัดสินใจสั่งซื้อน้อย ทําให้ต้นทุน ในช่วงแรกลดลงเป็นจํานวนมาก และเมื่อเวลาผ่านไปพบว่าการสั่งซื้อผ่านส่วนกลางสามารถลดต้นทุนรวมในระบบเฉลี่ยต่อ สัปดาห์ได้810,974 บาทซึ่งคิดเป็น 10.66%en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสั่งซื้อผ่านส่วนกลางen_US
dc.subjectโปรแกรมเชิงเส้นผสมจํานวนเต็มen_US
dc.subjectกรอบเวลาแบบหมุนen_US
dc.titleการพัฒนาวิธีการสั่งซื้อผ่านส่วนกลางโดยพิจารณาที่กรอบเวลาแบบหมุน กรณีศึกษา: บริษัทผลิตอาหารสัตว์en_US
dc.title.alternativeThe Development Centralized Purchasing Method Considering Rolling Horizon: A Case Study of Feed Production Companyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.