Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิกานดา แสงกุหลาบen_US
dc.contributor.authorวิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 207-226en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/17.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66409-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอการพัฒนาแบบจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรมเฟล็คซิม (FlexSim) มาประยุกต์ใช้ใน อุตสาหกรรมผลิตฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟของกระบวนการผลิตหัวอ่าน-เขียนสำเร็จเพื่อจัดสรรจำนวนพนักงานในสายการผลิต ห้วอ่าน-เขียนสำเร็จ ให้เหมาะสมกับอัตราการผลิต และปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์โดยพิจารณาตามลักษณะการจัดวาง สายการผลิต 2 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบที่ 1 มีลักษณะการจัดวางสายการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง และ (2) รูปแบบที่ 2 มี ลักษณะการจัดวางสายการผลิตแบบต่อเนื่อง ท้ังนี้เพื่อลดต้นทุนด้านแรงงานที่ไม่จำเป็นและเพิ่มอรรถประโยชน์ของ พนักงาน ข้อ มูลปัจจุบัน พบว่าอรรถประโยชน์ของพนักงานภายในสายการผลิตต่อวัน 21 ชั้วโมง โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 58.5% หลังจากการดำเนินงานวิจัยพบว่า จำนวนพนักงานตามลักษณะการจัดวางสายการผลิตรูปแบบที่ 1 สามารถลดลงจาก 12 คน เหลือ 8 คนต่อสายการผลิต อรรถประโยชน์เฉลี่ยของพนักงานภายในสายการผลิตตามลักษณะการจัดวางสายการผลิต รูปแบบที่1 เพิ่มขึ้น 14.2% คิดเป็นจำนวนเงินที่ลดลงต่อเดือนเท่ากับ 90,113 บาท และจำนวนพนักงานตามลักษณะการจัดวางสายการผลิตรูปแบบที่ 2 สามารถลดลงจาก 12 คนเหลือ 7 คนต่อสายการผลิต อรรถประโยชน์เฉลี่ยของพนักงานภายใน สายการผลิตตามลักษณะการจัดวางสายการผลิตรูปแบบที่ 2 เท่ากับ 22.3% คิดเป็นจำนวนเงินที่ลดลงต่อเดือนเท่ากับ 112,641 บาทen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแบบจำลองสถานการณ์เพื่อจัดสรรจำนวนพนักงานในสายการผลิตหัวอ่าน-เขียนสำเร็จen_US
dc.title.alternativeSimulation Model for Operator Allocation In Head Gimbal Assembly Lineen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.