Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบันเทิง ศรีคะรันen_US
dc.contributor.authorประภาศ เมืองจันทร์บุรีen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 148-157en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/12.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66407-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractการเชื่อมพอกแข็งที่มีการเติมโครเมียมลงในบริเวณเนื้อโลหะเชื่อมเป็นวิธีใหม่ที่ได้รับความนิยม เนื่องจากสามารถช่วยยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรที่เกิดการสึกหรอได้งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาอิทธิพลของโครเมียมโดยการเติม เหล็กกล้าไร้สนิมชนิดมาร์เทนซิติกเกรด 401 ลงในบริเวณเนื้อโลหะเชื่อมที่เชื่อมด้วยกระบวนการเชื่อมอาร์คใต้ฟลักซ์โดย ใช้ลวดเชื่อมชนิดเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำและเหล็กกล้ามาร์เทนซิติกในการเชื่อม ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างจุลภาคบริเวณ เนื้อโลหะเชื่อมที่เชื่อมดว้ยเหล็กกลา้คาร์บอนต่ำที่ไม่มีการเติมโครเมียมประกอบด้วยเฟอร์ไรตแ์ละเพิร์ลไลต์ส่วนบริเวณ เนื้อโลหะเชื่อมที่มีการเติมโครเมียมประกอบด้วยเฟอร์ไรต์และมาร์เทนไซต์นอกจากนี้ยังพบว่าการเพิ่มปริมาณโครเมียม ลงในบริเวณเนื้อโลหะเชื่อมยังช่วยลดการเจือจางบริเวณเนื้อโลหะเชื่อมและสามารถเพิ่มความแข็งบริเวณเนื้อโลหะเชื่อม ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ทั้งโครงสร้างจุลภาคและค่าความแข็งบริเวณเนื้อโลหะเชื่อมที่มีการเติมโครเมียมยังคงมีความ แตกต่างกับ บริเวณเนื้อโลหะเชื่อมของการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมชนิดเหล็กกล้ามาร์เทนซิติกที่ไม่มีการเติมโครเมียมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเชื่อมอาร์คใต้ฟลักซ์en_US
dc.subjectการเชื่อมพอกแข็งen_US
dc.subjectการเติมโครเมียมen_US
dc.subjectการเจือจางเนื้อเชื่อมen_US
dc.titleอิทธิพลของการเติมโครเมียมในบริเวณเนื้อโลหะเชื่อมโดยกระบวนการเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์en_US
dc.title.alternativeThe Effect of Chromium Addition in Weld Metal by Submerged Arc Welding Processen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.