Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66401
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ดุลยาวัชร์ พันธุ์ยูโซ๊ะ | en_US |
dc.contributor.author | กฤช สมนึก | en_US |
dc.contributor.author | กำพล ประทีปชัยกูร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 107-120 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/09.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66401 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการผลิตเอทิลเอสเทอร์จากกรดไขมันปาลม์ (palm fatty acid distillate, PFAD) ด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันสองขั้นตอนแบบกะ ซึ่งกรดไขมันปาลม์เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันปาลม์บริสุทธิ์ (refined palm oil, RPO) ถูกนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล การศึกษาการผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาลม์ ด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน สองขั้น ตอนแบบกะโดยออกแบบการทดลองด้วยวิธีการออกแบบประสมกลาง (central composite design, CCD) และวิเคราะห์ผลการทดลองด้วยเทคนิคพื้นผิวตอบสนอง (response surface methodology, RSM) เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสม ได้ศึกษาค่าความบริสุทธิ์ของเอทิลเอสเทอร์เมื่อช่วงของตัวแปรอิสระ ของเอสเทอริฟิเคชันทั้งสองขั้นตอน คือ ปริมาณเอทานอล (4.77-55.23 wt.%) ปริมาณกรดซัลฟิวริก (0.95-11.05 wt.%) ใช้เวลาในการทำปฏิกิริยา (6-74 min) ควบคุมอุณหภูมิทำปฏิกิริยาและความเร็วรอบของใบกวน เท่ากับ 75˚C และ 300 rpm ตามลำดับ จากผลการทดลองพบว่า สภาวะที่เหมาะสมของปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันขั้นตอนที่ 1 คือ ปริมาณ เอทานอลเท่ากับ 29.42 wt.% กรดซัลฟิวริกเท่ากบั 5.28 wt.% และเวลาในการทำปฏิกิริยา เท่ากับ 40 min สามารถผลิต น้ำมันลดกรดไขมันอิสระได้เอทิลเอสเทอร์เท่ากับ74.222 wt.% และเมื่อนำน้ำ มันลดกรดไขมันอิสระจากขั้น ตอนที่ 1 ไป ผลิตไบโอดีเซลในขั้นตอนที่ 2 ด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันพบว่า สภาวะที่เหมาะสมคือ ปริมาณเอทานอลเท่ากับ 37.96 wt.% กรดซัลฟิวริก เท่ากับ 6.91 wt.% และเวลาในการทำปฏิกิริยา เท่ากับ 55 min สามารถผลิตเอทิลเอสเทอร์ได้ มากที่สุด เท่ากับ99.323 wt.% | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ไบโอดีเซล | en_US |
dc.subject | กรดไขมันปาล์ม | en_US |
dc.subject | เอทานอล | en_US |
dc.subject | เอสเทอริฟิเคชัน | en_US |
dc.subject | พื้นผิวตอบสนอง | en_US |
dc.title | สภาวะที่เหมาะสมของการผลิตเอทิลเอสเทอร์จากกรดไขมันปาล์มด้วยกระบวนการเอสเทอริฟิเคชันแบบสองขั้นตอน: วิธีพื้นผิวตอบสนอง | en_US |
dc.title.alternative | Optimization of Ethyl Ester Production from Palm Fatty Acid Distillate (PFAD) Using Double-Step Esterification Process: A Response Surface Methodology Approach | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.