Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญฤทธิ์ เขียวอร่ามen_US
dc.contributor.authorพุทธิพล ดำรงชัยen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 59-79en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/06.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66400-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความถูกต้องของการใช้ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งโลกแบบจลน์อย่างทันทีทันใดและเครื่องเลเซอร์สแกนภาคพื้นดิน ในการรังวัดหาปริมาตรงานขุดหน้าดินและถ่านหินในเหมืองเปิดขนาดใหญ่ โดยการเปรียบเทียบกับวิธิการด้้งเดิมคือการรังวัดด้วยกล้องประมวลผลรวม โดยทำการทดสอบที่เหมืองสองแห่งคือเหมืองแม่เมาะ ประเทศไทย และเหมืองหงสา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการทดสอบแบบควบคุมบนหมุดอ้างอิง ที่ทราบค่า พบว่าการรังวัดด้วยกล้องประมวลผลรวม มีความแม่นยา 0.2 มม. ท้้งทางราบและทางดิ่งการรังวัดดาวเทียมแบบ จลน์อย่างทันทีทันใด มีความแม่นยำทางราบ 0.25 มม. ทางดิ่ง 0.39 มม. และการรังวัดด้วยเครื่องเลเซอร์สแกนภาคพื้นดิน มีความแม่นยา ทางราบ 4.93 ซม. ทางดิ่ง 0.63 ซม. และการทดสอบรังวัดหาปริมาตรงานขุดหน้าดินและถ่านหินในบ่อ เหมืองพบว่า การรังวัดดาวเทียมแบบจลน์อย่างทันทีทันใด และการรังวัดด้วยเครื่องเลเซอร์สแกนภาคพื้นดินมีความแตกต่าง จากการรังวัดด้วยกล้องประมวลผลรวมร้อยละ 0.4 และ 1.0 ตามลำดับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectดาวเทียมกำหนดตำแหน่งโลกen_US
dc.subjectจลน์อย่างทันทีทันใดen_US
dc.subjectเครื่องเลเซอร์สแกนภาคพื้นดินen_US
dc.subjectกล้องประมวลผลรวมen_US
dc.titleการประเมินความถูกต้องของวิธีการรังวัดเพื่อหาปริมาตรงานขุดหน้าดินและถ่านหินในเหมืองเปิดขนาดใหญ่en_US
dc.title.alternativeAccuracy Assessment of Survey Methods for Volume Determination of Overburden and Coal Excavations in Large Open Pit Minesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.