Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชาตรี หอมเขียวen_US
dc.contributor.authorสุรสิทธิ์ ระวังวงศ์en_US
dc.contributor.authorวรพงค์ บุญช่วยแทนen_US
dc.contributor.authorธเนศ รัตนวิไลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 33-47en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/04.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66396-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractในการผลิตวัสดุเชิงประกอบพลาสติกและไม้ประเภทไม้ธรรมชาติเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่อสมบัิตของวัสดุเชิงประกอบพลาสติกและไม้เนื่องจากไม้ธรรมชาติแต่ละชนิดมีโครงสร้างและความแข็งแรงที่แตกต่างกัน ดังน้ัน วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาผลกระทบของประเภทไม้ธรรมชาติเช่น ผงไม้ยางพาราผงไม้ปาลม์ น้้ำมัน และผงไม้ทางใบปาล์มน้ำมัน ตลอดจนผลกระทบของปริมาณผงสีต่อสมบัติทางกลและทางกายภาพของวัสดุเชิงประกอบ พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงและผงไม้จากการทดสอบสมบัติต่าง ๆ พบว่า ในวัสดุเชิงประกอบที่ไม่เติมผงสีวัสดุเชิง ประกอบที่เสริมแรงด้วยผงไม้ยางพารามีค่าความแข็งแรงด้ดค่ามอดูลัสการดัด ค่าความแข็งแรงดึง ค่ามอดูลัสการดึง และค่าความแข็ง สูงกว่าวัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรงด้วยผงไม้ปาล์มน้้ำมัน และที่เสริมแรงด้วยผงไม้ทางใบปาล์มน้้ำมัน เช่นเดียวกัน วัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรงด้วยผงไม้ทางใบปาลม์น้้ำมัน มีทุกสมบัติทางกลสูงกว่าวัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรง ด้วยผงไม้ปาล์มน้ำมัน นอกจากนี้การเติมผงสีปริมาณ 1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก (wt%) ในวัสดุเชิงประกอบพอลิเอทิลีน ความหนาแน่นสูงและผงไม้ทุกประเภทสามารถปรับปรุงให้ค่าความแข็งแรงดัด ค่ามอดูลัสการดัด และค่าความแข็ง มีค่าสูงขึ้นอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามการเติมผงสีปริมาณ 5 wt% กลับส่งผลให้วัสดุเชิงประกอบพลาสติกและผงไม้มีค่า ความแข็งแรงดึงและค่าความแข็งลดลงและพบด้วยว่าวัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรงด้วยผงไม้ยางพารามีสีน้ำตาลคล้ายคลึง ไม้ธรรมชาติในขณะที่วัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรงด้วยผงไม้ปาล์มน้ำมันมีสีน้ำตาลเข้มและที่เสริมแรงด้วยผงไม้ทางใบปาลม์น้้ำมันมีสีดำen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวัสดุเชิงประกอบพลาสติกและไม้en_US
dc.subjectไม้ยางพาราen_US
dc.subjectไม้ปาลม์น้ำมันen_US
dc.subjectทางใบปาลม์น้ำมันen_US
dc.subjectพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงen_US
dc.titleอิทธิพลของประเภทไม้ธรรมชาติและปริมาณผงสีต่อสมบัติของวัสดุเชิงประกอบพลาสติกและไม้en_US
dc.title.alternativeInfluence of Natural Wood Types and Pigment Contents on Properties of Wood-Plastic Compositesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.