Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชูเดช ประสารวรณ์en_US
dc.contributor.authorปุณณมี สัจจกมลen_US
dc.contributor.authorไอลดา ตรีรัตน์ตระกูลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 203-216en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_2/18.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66395-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาการจัดตารางลำดับงานของรถคอนกรีตผสมเสร็จจากกรณีศึกษา ซึ่งมีการจัดตารางลำดับงานโดย อาศัยเพียงประสบการณ์จึงอาจเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมหรือไม่มีประสิทธิภาพมากพอสำหรับกรณีศึกษา ผู้วิจัยจึงเสนอวิธีการ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดตารางลำดับงานของรถคอนกรีตผสมเสร็จด้วยวิธีฮิวริสติก ได้แก่วิธีสั่งก่อนส่งก่อน (First-Come, First-Serves(FCFS)) และวิธีเชิงพันธุกรรมสำหรับเครื่องผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ 1 เครื่อง (Genetic Algorithm of Single Plant (GA+SP)) โดยมีตัวชี้วัดประสิทธิภาพการจัดตารางลำดับงานของกรณีศึกษานี้คือระยะเวลารอคอยงานรวมของรถคอนกรีตผสมเสร็จ (TWC)จำนวนโทษเนื่องจากการหยุดชะงักที่เกิดขึ้น และต้นทุนจากการรอคอยงานรวมของรถ คอนกรีตผสมเสร็จและโทษเนื่องจากการหยุดชะงัก และพัฒนารูปแบบการจัดตารางลำดับงานใหม่คือวิธีเชิงพันธุกรรม สำหรับเครื่องผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ 2 เครื่อง (Genetic Algorithm of Multi Plant (GA+MP)) เพื่อให้สอดคล้องกับ บริษัทกรณีศึกษาผลการศึกษาพบวา่ วิธีGA+SP สามารถลดระยะเวลารอคอยงานรวมของรถคอนกรีตผสมเสร็จ(TWC) จำนวนโทษเนื่องจากการหยุดชะงักที่เกิดขึ้น และต้นทุนรวมจากการรอคอยงานรวมของรถคอนกรีตผสมเสร็จและโทษ เนื่องจากการหยุดชะงัก เมื่อเทียบวิธีการจัดตารางลำดับงานแบบการแจกแจงความน่าจะเป็นสม่ำเสมอ (Uniform Probability Distribution (Uniform)) คิดเป็นร้อยละ 15.63, 18.50 และ 31.38 ตามลำดับสำหรับวิธีGA+MP ระยะเวลารอคอยงานรวมของรถคอนกรีตผสมเสร็จ (TWC) มีจำนวนเพิ่มขึ้นจากวิธีการจัดตารางลำดับงานแบบการแจกแจงความน่าจะเป็นสม่ำเสมอ (Uniform Probability Distribution (Uniform)) คิดเป็นร้อยละ 49.15 ในส่วนของ จำนวนโทษเนื่องจากการหยุดชะงัก ที่เกิดขึ้น และต้นทุนรวมจากการรอคอยงานรวมของรถคอนกรีตผสมเสร็จและโทษ เนื่องจากการหยุดชะงักลดลงคิดเป็นร้อยละ 2.63 และ 60.93 ตามลำดับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้วิธีเชิงพันธุกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดตารางลำดับงานของรถคอนกรีตผสมเสร็จ กรณีศึกษา: บริษัทคอนกรีตผสมเสร็จen_US
dc.title.alternativeApplication of Genetic Algorithm for Scheduling and Dispatching of Ready Mixed Concrete Truck: A Case Study of Ready Mixed Concrete Companyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.