Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพีระพงษ์ ชูแก้วen_US
dc.contributor.authorสมชาย ชูโฉมen_US
dc.contributor.authorธเนศ รัตนวิไลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 135-141en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_2/13.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66388-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractอัตราผลผลิตไม้ยางพาราแปรรูปขึ้นกับ หลายปัจจยัที่สำคัญ ได้แก่พันธุ์ยางพารา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม้ท่อน และทักษะแรงงานโต๊ะเลื่อย เพื่อหาความสัมพันธ์ของแต่ละปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราผลผลิตไม้ยางพาราแปรรูป จึงได้ออกแบบ การทดลองโดยกำหนดปัจจัยพันธุ์ยางพารา 4 ระดับ ได้แก่พันธุ์RRIM 600, GT 1, PB 235 และ PR 255 ปัจจัยขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางไม้ท่อน 4 ระดับ ได้แก่ขนาด 5-7 นิ้ ว, 8-10 นิ้ ว, มากกว่า 10 นิ้ว และไม้ท่อนคละขนาด และปัจจัย ทักษะแรงงานโต๊ะเลื่อย 2 ระดับ ได้แก่ ทักษะแรงงานโต๊ะเลื่อยทั่วไป และแบบชำนาญงาน พบว่าทั้ง 3 ปัจจัยมีผลต่ออัตรา ผลผลิตไม้ยางพาราแปรรูปอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อ มั่น 95% โดยสามารถสร้างสมการเพื่อพยากรณ์ปริมาณการ ผลิตได้ดังนี้𝑌𝑌 = 𝑋𝑋1[(5.4695𝑋𝑋2) + (6.4657𝑋𝑋3) + (7.2562𝑋𝑋4) + (4.6511𝑋𝑋5)] โดย Y คือปริมาณการผลิตไม้ แปรรูปเกรด AB, X1 คือปริมาณไม้ยางพาราท่อน X2, X3, X4 และ X5 คือเปอร์เซ็นต์ปริมาณไม้ท่อนพันธุ์ RRIM 600, GT1, PB 235 และ PR 255 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยรากที่สองของกำลังสองของความคลาดเคลื่อนมีค่า 28.2 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของพันธุ์ยางพารา เส้นผ่านศูนย์กลางไม้ท่อนและทักษะแรงงานที่มีต่ออัตราผลผลิตไม้ยางพาราแปรรูปen_US
dc.title.alternativeInfluence of Rubber Clone, Log Diameter, and Labor Skill on Yield of Rubberwood Lumberen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.