Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66387
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พงษ์พันธ์ ราชภักดี | en_US |
dc.contributor.author | เอกวิทย์ เพียรอนุรักษ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 181-190 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_2/16.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66387 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาถ้วยรองน้ำยาง ซึ่งเกษตรชาวสวนนิยมใช้งานในปัจจุบันมี2 ชนิดคือถ้วยรองน้ำยางที่ผลิตจากเซรามิกส์และพลาสติกโดยถ้วยรองน้ำยางจากเซรามิกส์จะมีต้นทุนการผลิตสูงและน้ำหนักมาก ส่วนถ้วยรองน้ำยางจากพลาสติกนั้นจะมีต้นทุนการผลิตต่ำแต่น้ำหนกเบาและเกิดการแห้งกรอบเมื่อได้รับความร้อน เมื่อเสื่อมสภาพก็จะทิ้งเป็นขยะมลพิษส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในสวนยางพารา ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาถ้วยรองน้ำยางจากยางธรรมชาติ ผสมขี้เลื่อยไม้ยางพาราโดยแปรขนาดของขี้เลื่อย 4 ระดับคือ 0-250, 250-500, 500-750 และ 750-1,000 ไมโครเมตร และปริมาณของขี้เลื่อย 5 ระดับคือ 20, 40, 60, 80 และ 100 ส่วนเทียบกับยางหนึ่งร้อยส่วน โดยน้ำหนักยางธรรมชาติใช้ เป็นยาง STR 20 ขึ้นรูปด้วยเครื่องอัดขึ้นรูป ทำการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลคือ ความต้านทานแรงดึงและค่าความแข็ง เพื่อหาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมเพื่อนำไปขึ้นรูปเป็นถ้วยรองน้ำยาง จากการศึกษาพบว่าขี้เลื่อยขนาดอนุภาค 500-750 ไมโครเมตรที่ปริมาณ 100 ส่วนเทียบกับยางหนึ่งร้อยส่วน เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการผลิตถ้วยรองน้ำยางเนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ที่ได้ไม่การแตกร้าวและคงรูปได้มีค่าความแข็งสูงสุดเฉลี่ย 88.0 shore A ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการ ใช้งานถ้วยรองน้ำยางที่พัฒนาขึ้นคิดเป็น 4.55 โดยเกษตรกรเห็นว่าถ้วยรองน้ำยางที่พัฒนาขึ้นมีความแข็งแรงการติดของยางน้อยทำให้กวาดได้ง่ายและมีอายุการใช้งานนานเหมือนกับแบบเซรามิกส์และสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ สามารถทดแทนถ้วยรับน้ำยางแบบเซรามิกส์และพลาสติกได้ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ถ้วยรองน้ำยาง | en_US |
dc.subject | ยางธรรมชาติ | en_US |
dc.subject | ขี้เลื่อยไม้ยางพารา | en_US |
dc.title | การพัฒนาถ้วยรองน้ำยางจากยางธรรมชาติผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารา | en_US |
dc.title.alternative | Development of a Latex Cup from Natural Rubber mixed Parawood Sawdust | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.