Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66384
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สรารัตน์ ชาลีกัน | en_US |
dc.contributor.author | จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 106-112 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_2/10.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66384 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | กระบวนการอบแห้งเชื้อเพลิงชีวมวลช่วยเพิ่มพลังงานความร้อนของเชื้อเพลิง โดยการนำไอน้ำเหลือใช้(Low pressure steam) จากโรงไฟฟ้า (37.15 MW) มาใช้ในกระบวนการอบ (กำลังการผลิต 400 ตันต่อวัน) โดยเชื้อเพลิง ที่ใช้อบคือไฟเบอร์ผสม (ทะลายปาล์ม เปลือกมะพร้าว เปลือกไม้) และไม้ชิพ ซึ่งมีค่าเปอร์เซ็นตค์วามชื้นก่อนอบประมาณ 40-60% เพื่อช่วยปรับปรุงค่าความชื้นเชื้อเพลิงชีวมวลและต้นทุนในกระบวนการอบแห้งงานวิจัยนี้จะนำทฤษฎีซิกซ์ซิกม่า (Six Sigma) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนการกำหนดปัญหา (Define), การวัดเพื่อกำหนดหาสาเหตุของปัญหา (Measure), การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analyze), การปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ (Improve) และการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ (Control) (DMAIC) มาใช้และใช้ผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram), ตารางแสดงความสัมพันธ์ของ สาเหตุและผล (Cause and Effect Matrix) และการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) ในการ คัดเลือกปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้น และใช้การออกแบบการทดลอง 3k Factorial Design ในการหา ปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญกับค่าความชื้นเชื้อเพลิงผลที่ได้ค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยลดลงจาก 10% เป็น 23% (ค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นก่อนปรับปรุงคำนวณจากส่วนต่างของค่าความชื้นขาเข้าเฉลี่ย 55% กับค่าความชื้นขาออกเฉลี่ย 45% และค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นหลังปรับปรุงคำนวณจากส่วนต่างของค่าความชื้นขาเข้าเฉลี่ย 56% กับค่าความชื้นขาออกเฉลี่ย 33%) ทำให้ค่าความร้อนเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น 4,028 เมกกะจูลต่อตันต่อเดือน ต้นทุนในกระบวนการอบแห้งเฉลี่ยลดลงจาก 0.147 บาทต่อเมกกะจูลเป็น 0.122 บาทต่อเมกกะจูลคิดเป็นต้นทุนที่ประหยัดได้4,583,028 บาทต่อปี | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การลดค่าความชื้นของเชื้อเพลิงชีวมวลในกระบวนการอบแห้งโดยใช้แนวทางซิกซ์ซิกม่า | en_US |
dc.title.alternative | The Moisture Reduction Of Biomass Fuel In The Drying Process By Six Sixma Approach | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.