Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66382
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปฐมชัย พิชิตผจงกิจen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 55-66en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_2/06.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66382-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractบทความนี้นำเสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตแชสซีส์ของโรงงานประกอบรถบรรทุกโดยนำหลักการ ของลีนและการจัดสมดุลสายการผลิตมาประยุกต์ใช้อันมีจุดประสงค์เพื่อลดความสูญเสียที่ปรากฏอยู่ในสายการผลิต ได้แก่ ความสูญเสียจากการรอคอยความสูญเสียจากการขนส่งและความสูญเสียจากระบวนการที่ไม่เหมาะสม โดยใช้เวลาสูญเสีย มาเป็นตัวชี้วัดหลังจากใช้หลักการของลีนแล้วจึงทำการจัดระบบสายการผลิตใหม่โดยมีตัวชี้วัดไดแ้ก่รอบเวลาในการผลิต, ประสิทธิภาพการทำงาน และผลิตภาพในการผลิตแชสซีส์โดยขั้นตอนการวิจัยเริ่มจากการเก็บข้อมูลขั้นตอนและเวลาตาม สภาพความเป็นจริงของสายการผลิตในปัจจุบัน จากนั้นจึงวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความสูญเสีย เมื่อทราบสาเหตุแล้ว จึงทำการแก่ปัญหาลดความสูญเสียโดยการใช้เครื่องมือของลีน คือ หลัก ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify) หลังจากนั้นจึงทำการจัดสมดุลสายการผลิตแชสซีส์ขึ้นมาใหม่เพื่อให้เวลาในการผลิตของแต่ละสถานีมีความ สมดุลในเวลาการทำงานเพิ่มมากขึ้นโดยวิธีการที่ใช้คือ วิธีใช้น้ำหนักเป็นตัวกำหนดตำแหน่ง (Ranked Positional Weight: RPW) จากการศึกษาพบว่าเมื่อทำการเปรียบเทียบกระบวนการก่อนและหลังการปรับปรุงสามารถลดความ สูญเสียจากเดิม 1707.52 นาทีเหลือ 981.31 นาทีรอบเวลาในการผลิตลดจากเดิม 767.81 นาทีเหลือ 524.48 นาที ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มข้ึนจากเดิม 60.64% เป็น 88.49% และผลิตภาพ เพิ่มขึ้นจากเดิม 1 คันต่อคน เป็น 1.84 คันต่อคนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการผลิตแชสซีส์ของโรงงานประกอบรถบรรทุกen_US
dc.title.alternativeImprovement of Chassis Production Process of Truck Factoryen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.