Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66374
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฉลองเดช คูภานุมาต | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจิตรศิลป์ 10, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 183-210 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/127021/141843 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66374 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประวัติความเป็นมา คติความเชื่อ เกี่ยวกับแนวคิดพระอดีตพุทธเจ้าที่ปรากฏอยู่ในพุทธศาสนา ศึกษาแนวคิด สัญลักษณ์ รูปแบบทางศิลปกรรมของงานพุทธศิลป์ล้านนาที่สะท้อนแนวคิดพระอดีตพุทธเจ้า ตลอดจนการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดพระอดีตพุทธเจ้าในงานพุทธศิลป์ล้านนา นำมาเป็นแรงบันดาลใจและแนวทางในการสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย ผลการวิจัยพบว่าคติเรื่องพระอดีตพุทธเจ้า คือ แนวคิดหลักที่ใช้เป็นปทัสถานในการสร้างงานพุทธศิลป์นับแต่อดีต โดยชี้ให้เห็นว่าพระธรรมเป็นอกาลิโก ดำรงคงอยู่อย่างไม่จำกัดกาลเวลา บุคคลผู้มีปัญญาทุกยุคทุกสมัยสามารถค้นพบได้ด้วยตนเอง อีกทั้งการระลึกถึงพระอดีตพุทธเจ้ายังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในหลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนา จากการศึกษางานพุทธศิลป์ล้านนา พบว่าคติความเชื่อเรื่องพระอดีตพุทธเจ้าซึ่งมีที่มาจากพุทธศาสนาแบบเถรวาท มีเนื้อหาปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก อรรถกถา และวรรณกรรมพุทธศาสนาในท้องถิ่น เช่น ชินกาลมาลีปกรณ์ ตำนานมูลศาสนา ตำนานพระเจ้าเลียบโลก ด้วยการสื่อความหมายถึงจำนวนพระอดีตพุทธเจ้าทั้ง 4 พระองค์ 24 พระองค์ 27 พระองค์ และพระอดีตพุทธเจ้าจำนวนมากจนไม่อาจนับได้ อันมีความเกี่ยวข้องอย่างสำคัญกับพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน โดยสะท้อนความหมายผ่านรูปทรงสัญลักษณ์ในงานพุทธศิลป์แขนงต่างๆ เช่น สถาปัตยกรรม จิตรกรรม และประติมากรรม ภายในพุทธสถานล้านนาอย่างเป็นองค์รวม นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษามาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย รูปแบบศิลปะสื่อผสมและศิลปะแนวจัดวาง จำนวน 3 ชุด ตีความหมายจากสัญลักษณ์พระอดีตพุทธเจ้า เพื่อการสืบสานวัฒนธรรมวิธีคิดและความศรัทธาของชาวพุทธ ผลสัมฤทธิ์ของการสร้างสรรค์ยังทำหน้าที่เป็นสื่อศิลปะที่สะท้อนความหมายอันลึกซึ้งของหลักธรรมในพุทธศาสนา | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พระอดีตพุทธเจ้า | en_US |
dc.subject | พุทธศิลป์ล้านนา | en_US |
dc.subject | ศิลปะร่วมสมัย | en_US |
dc.title | แนวคิดพระอดีตพุทธเจ้าในงานพุทธศิลป์ล้านนาเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย | en_US |
dc.title.alternative | The Buddhas of the Past Conception in Lan Na Buddhist Art for Contemporary Arts Creation | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.