Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorองอาจ อินทนิเวศen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 10, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 140-155en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/115088/141799en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66372-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractขมุนำดนตรีเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวันตั้งแต่โบราณ แต่ด้วยความเชื่อที่ว่าเมื่อเสร็จสิ้นการใช้งานแล้วจะทำลายเครื่องดนตรีทิ้ง จึงทำให้การศึกษาข้อมูลเรื่องดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ขมุที่ผ่านมามีอย่างจำกัด การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ขมุในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ใช้กระบวนการศึกษาแบบดนตรีชาติพันธุ์วิทยา การลงพื้นที่ภาคสนาม การบันทึกเสียงดนตรีเพื่อนำมาถอดเป็นโน้ต การเสวนาเพื่อสังเคราะห์ และการตรวจข้อมูลโดยชุมชน ผลการศึกษาพบว่าดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ขมุมีวัตถุประสงค์หลักในการนำมาใช้งานเพื่อความเพลิดเพลิน ใช้ส่งสัญญาณ หรือใช้เป็นสัญลักษณ์เฉพาะตัวกันในกลุ่มเมื่อเดินทางเข้าหาของป่า แบ่งลักษณะและประเภทของดนตรีออกเป็นเครื่องดนตรีประจำกลุ่มชาติพันธุ์ เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงเดี่ยวหรือรวมวงแบบไม่เป็นทางการ ได้แก่ โล้ง ซุ้ลร์ โทรอล์ ปี้ เกิลตอง คราบอ๊าก และการขับร้องเพลงภาษาขมุ เรียกว่า เติ้ม ปัจจุบันคนขมุไม่นิยมทำลายเครื่องดนตรีแล้ว เนื่องจากเล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ดนตรีของตนเองไว้มิให้สูญหายและได้รับความสนใจจากคนนอกชุมชนมากขึ้น จึงนำเครื่องดนตรีมาใช้แสดงได้บ่อยครั้ง สามารถช่วยสร้างรายได้อีกทางหนึ่งen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectชาติพันธุ์ขมุen_US
dc.subjectดนตรีชาติพันธุ์en_US
dc.subjectวัฒนธรรมen_US
dc.subjectมรดกen_US
dc.subjectภูมิปัญญาด้านดนตรีen_US
dc.titleองค์ความรู้ภูมิปัญญาด้านดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ขมุในจังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeThe Knowledge of Music Wisdom of Khmu in the Chiang Rai provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.