Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตติพันธพชร ธรรมพัฒนกุลen_US
dc.contributor.authorบุญทัน เชษฐ์สุราษฎร์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 10, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 12-25en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/88216/141756en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66369-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง ภาพสะท้อนสังคมบริโภคในปัจจุบัน มีที่มาจากการบริโภคเนื้อสัตว์ของมนุษย์ที่มีปริมาณมากขึ้นตามการเพิ่มของจำนวนประชากรโดยไม่คำนึงถึงผลร้ายต่อผู้บริโภค การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมแสดงออกผ่านรูปทรงของเนื้อสัตว์ที่เหมือนจริงมาจัดวางองค์ประกอบให้ทับซ้อนกัน เพื่อแสดงให้เห็นถึงการทับถมกันของเนื้อสัตว์จำนวนมาก ใช้เทคนิคสีอะคริลิกและสีน้ำมันบนผ้าใบ แสดงถึงความรู้สึกน่าขยะแขยง หดหู่ ที่เกิดจากความเครียด ความวิตกกังวลในการบริโภคเนื้อสัตว์ จากกระบวนการผลิตที่นำเทคโนโลยีและสารเคมีมาใช้ในการเร่งการเจริญเติบโตของสัตว์ที่นับวันจะมีความรุนแรงและเพิ่มจำนวนมากขึ้น โดยไม่คำนึงถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับสุขภาพร่างกาย ผลงานชุดนี้มีวิธีดำเนินการสร้างสรรค์ด้วยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเนื้อสัตว์ โดยได้รับอิทธิพลจากผลงานศิลปกรรมของวีรพงษ์ ศรีตระกูลกิจการ Tjalf Sparnaay และ Christoph Eberle นำมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความชัดเจนของแนวเรื่อง รูปทรงสัญลักษณ์ และเทคนิค กลวิธีสร้างสรรค์โดยใช้ทัศนธาตุ วัสดุ กลวิธี และหลักการทางทัศนศิลป์ เพื่อตอบสนองแนวความคิดให้เป็นผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตน จำนวน 6 ผลงาน ผลลัพธ์จากการสร้างสรรค์พบว่าการนำเนื้อสัตว์มาจัดวางให้ทับซ้อนกันเพื่อแสดงให้เห็นถึงการทับถมกันของรูปทรงจำนวนมาก ได้แสดงผลสัมฤทธิ์ตามแนวความคิดที่ได้กำหนดไว้ น่าจะส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความตระหนักระวังในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาพสะท้อนen_US
dc.subjectสังคมบริโภคen_US
dc.titleภาพสะท้อนสังคมบริโภคในปัจจุบันen_US
dc.title.alternativeReflection of Current Consumptionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.