Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกนาฏ พรหมนครen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 10, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 26-47en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/92247/141763en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66367-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractโครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาจากดินสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากดินสามโคก เพื่อประยุกต์ให้เข้ากับความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน รูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาที่ออกแบบเป็นการสร้างสรรค์งานในรูปแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกพัฒนาขึ้นจากผู้วิจัย ผลการวิจัยพบว่าผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาสามโคกมีเอกลักษณ์ คือ ตุ่มสามโคก ช่างปั้นได้รับการถ่ายทอดความรู้จากบรรพบุรุษ แต่เนื่องจากปัจจุบันการผลิตเครื่องปั้นดินเผาสามโคกไม่ได้สืบทอดต่อจากบรรพบุรุษ มีแต่ร่องรอยทางประวัติศาสตร์ ณ โบราณสถานเตาโอ่งอ่าง ตำบลสามโคก การสร้างสรรค์งานในครั้งนี้ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบดั้งเดิม ด้วยการตกแต่งลวดลายและคิดค้นรูปแบบใหม่ สำรวจจากความต้องการของผู้บริโภค ใช้วิธีการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก ใช้เคลือบตกแต่งผลิตภัณฑ์เพื่อให้เกิดลักษณะและจุดเด่นเฉพาะตัว ออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผารูปแบบร่วมสมัย 10 รูปแบบ เผาที่ระดับอุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส จากการสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคและผู้ที่เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการที่มีต่อรูปแบบผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับดี ได้ผลตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์คงไว้ซึ่งหัตถกรรมท้องถิ่นของไทยให้คงอยู่ต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเครื่องปั้นดินเผาสามโคกen_US
dc.subjectตุ่มสามโคกen_US
dc.subjectหัตถกรรมท้องถิ่นen_US
dc.subjectของที่ระลึกen_US
dc.titleการศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาจาก ดินสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึกen_US
dc.title.alternativeThe Study and Development of Ceramic Products from Sam Khok Clay, Pathumthani Province, Applied to Souvenir Designen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.