Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66358
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorTanatchaporn Kittikongen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 345-392en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/98026/96305en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66358-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractผู้วิจัยทำการศึกษาและสร้างสรรค์ตัวละครโดยใช้หลักปฏิบัติภาวนาทาง พระพุทธศาสนา (Meditation-based Approach) กรณีศึกษา ตัวละครนาก จากผลงานศิลปะการแสดง Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong โดยตั้งสมมุติฐานว่า การศึกษาลักษณะประสบการณ์ภายในของตัวละคร (Character’s Inner Experience) สามารถขยายและเข้าใจด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนา ภายใต้กรอบแนวคิดด้านจิตและเบญจขันธ์ อันจะทำให้นักแสดงสามารถเข้าใจและสร้างสรรค์ประสบการณ์ของตัวละคร ในระดับที่ลึกขึ้น ส่งผลต่อการแสดงที่ละเอียดและเพิ่มเทคนิควีธีการและ ทิศทางสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในการสร้างประสบการณ์เชิงปรากฏการณ์ของการ แสดงบนเวที การวิจัยสร้างสรรค์นี้เป็นวิจัยแบบปฏิบัติการ หรือ ปฏิบัติวิจัย (Practice as Research) บันทึกและสังเคราะห์องค์ความรู้ผ่านประสบการณ์ ตรงของผู้วิจัยในฐานะนักแสดงจากกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานซึ่งเป็นวิธี วิจัย เริ่มตั้งแต่การตีความและพัฒนาบทร่วมกับผู้ก ําากับ การค้นหาและการ สร้างสรรค์ตัวละคร การเลือกและกําาหนดวิธีการแสดงและการซ้อมการแสดง จนถึงการแสดงผลงาน วิเคราะห์และสะท้อนผลในขณะพัฒนาแนวคิดและวิธี วิจัยไปพร้อมๆ กับการปฏิบัติ แบ่งการอภิปรายผลออกเป็น 2 ส่วน คือ การ ตีความสภาวะจิตของตัวละครนากจากบท และผลงานสร้างสรรค์ของนักแสดง บนเวที ได้บทสรุปที่ว่า หลักปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนา เมื่อใช้ในการ ทําางานเพื่อขยายประสบการณ์ภายในของตัวละคร มีความละเอียดและซับซ้อน เป็นเทคนิควิธีการที่ช่วยให้นักแสดงเพิ่มพูนทักษะการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ประสบการณ์ของตัวละครในขั้นการทำงานของจิตที่ลึกซึ้งและเป็นที่มาของ อารมณ์และความรู้สึก นักแสดงสามารถสร้างและขยายประสบการณ์ของ ตัวละครให้สอดประสานกับสภาวะจิตนั้น ๆ ได้ ทำให้นักแสดงอยู่กับการแสดง บนเวทีได้อย่างมั่นคง มีพลัง และอยู่กับปัจจุบันขณะen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปฏิบัติวิจัยen_US
dc.subjectวิธีปฏิบัติภาวนาen_US
dc.subjectนักแสดงen_US
dc.subjectสภาวะจิตen_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาen_US
dc.titleการขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanongen_US
dc.title.alternativeMagnifying the character’s inner experience through Buddhist meditation-based approach: Case study from Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanongen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.