Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66354
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | วรรักษ์ สุเฌอ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 258-300 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97814/96302 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66354 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | แนวคิดเรื่อง ภูมิทัศน์วัฒนธรรม ถือเป็นเครื่องมือในการจัดการพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยว ที่ช่วยส่งเสริมให้แหล่งท่องเที่ยวมีภาพลักษณ์ที่ดี และยังคงความ เป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมของท้องถิ่น รวมถึงมีการกำหนดการใช้พื้นที่ที่ส่งผลกระ ทบเชิงบวกต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างเหมาะสม สถานีรถไฟลำพูนตั้งอยู่ใกล้เคียงกับเขตเมืองเก่าลำพูน มีความอุดมสมบูรณ์ ด้านทรัพยากรทางวัฒนธรรมในระดับสูง มีการทับซ้อนทางวัฒนธรรมที่สะท้อน ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และธรรมชาติที่เหมาะแก่การเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ซึ่งการพัฒนาสถานีรถไฟลำพูนถือเป็นการส่งเสริมให้เกิดอุปสงค์ ทางการเดินทางท่องเที่ยวด้วยรถไฟ นอกจากนี้ ยังรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ในการพัฒนาพื้นที่ข้างเคียงสถานีรถไฟและการขยายตัวของทางรถไฟความเร็ว สูงและทางรถไฟรางคู่ในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับกระทรวงคมนาคมที่ได้มี โครงการในการวางแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอสังหาริมทรัพย์โดยรอบ พื้นที่สถานีรถไฟด้วยเช่นกัน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิจากการลงสำรวจพื้นที่โดย รอบ สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง แล้วนำข้อมูล มาสังเคราะห์ผ่านการจัดทำผังความคิด (Mind Mapping) และการวิเคราะห์ SWOT โดยสรุปแนวคิดในการนำเสนอผ่านทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่เขต เมืองเก่าจังหวัดลำพูน ซึ่งแบ่งพื้นที่จัดสรรเพื่อการพัฒนาพื้นที่ดังต่อไปนี้ 1) การอนุรักษ์อาคารทรงมนิลาเดิม 2) การออกแบบอาคารใหม่ที่แสดงออกถึง ความทับซ้อนทางวัฒนธรรมผ่านรูปแบบสถาปัตยกรรม 3) การปรับปรุงพื้นที่ สวนป่ารกร้างบริเวณข้างเคียง การวิจัยนี้ถือเป็นแนวทางในการนำภูมิทัศน์ วัฒนธรรมไปต่อยอดในการส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของพื้นที่ และ การอนุรักษ์ฟื้นฟูวัฒนธรรมท้องถิ่น และเพื่อก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้าน อุปสงค์ทางการท่องเที่ยว และผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ นอกจากนั้นแล้ว จาก การศึกษางานวิจัยครั้งนี้ ยังได้รับผลพลอยได้เป็นกระบวนการการออกแบบ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในพื้นที่อื่นๆ ได้อีกด้วย | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ภูมิทัศน์วัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | การจัดการภูมิทัศน์ | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | สถานีรถไฟลำพูน | en_US |
dc.subject | ลำพูน | en_US |
dc.subject | Cultural Landscape | en_US |
dc.subject | Landscape Management | en_US |
dc.subject | Tourism | en_US |
dc.subject | Lamphun train station | en_US |
dc.subject | Lamphun | en_US |
dc.title | การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | The Cultural Landscape Management for Tourism : A Case Study of Train Station, Lamphun Province | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.