Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณธกร อุไรรัตน์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 8, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 165-202en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78643/73355en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66345-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาองค์ประกอบต่าง ๆ ในการใช้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ และพัฒนาการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อช่วยให้กลุ่มเกษตรกรมีบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ที่มีเอกลักษณ์ เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเองและกลุ่มในการจัดจำหน่ายข้าว อันเป็นแนวทางเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ โดยออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ให้มีสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จากผลการวิจัยพบว่า แบบที่ได้คะแนนจากแบบสอบถามสูงที่สุด คือบรรจุภัณฑ์แบบที่ 3 เพราะมีลักษณะแปลกตา มีความคิดสร้างสรรค์แสดงถึงความเป็นท้องถิ่นจากการใช้ถุงกระสอบ สามารถสื่อถึงความเป็นข้าวได้ดีอีกด้วย, อีกทั้งบรรจุภัณฑ์แบบที่ 3 นี้สามารถสร้างความแตกต่างชัดเจน เพิ่มมูลค่าสินค้าได้ สามารถซื้อเป็นของฝากได้ เพราะดูสวยงาม มีความร่วมสมัยไม่เชย วัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ก็เป็นสิ่งที่หาง่าย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถนำถุงไปใช้ได้ต่อไปอีกด้วย จากผลการสัมภาษณ์กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ มีข้อเสนอแนะว่าด้านโครงสร้างและรูปแบบของบรรจุภัณฑ์แบบที่ 3 มีความแปลกตา มีความคิดสร้างสรรค์ในเลือกวัสดุที่สัมพันธ์กับตัวผลิตภัณฑ์ แปลกใหม่จากการที่นำถุงกระสอบมาใช้เป็นวัสดุในการทำบรรจุภัณฑ์ แต่การบรรจุค่อนข้างซับซ้อนมีหลายขั้นซึ่งในอนาคตถ้ามีการสั่งซื้อข้าวในจำนวนมากอาจทำให้เกิดปัญหาได้ ควรปรับดีไซน์สายคาดถุงกระสอบเป็นการสกรีนสายคาดบนกระสอบเพื่อความสามารถในผลิตได้ง่ายขึ้น ออกแบบทำโลโก้ให้เป็นรูปอาแป๊ะเจ๊กเชยเพื่อสร้างการจดจำ ในส่วนการใช้ถุงกระสอบสื่อถึงความเป็นข้าวได้ดี, สื่อสารวิถีวัฒนธรรมความเป็นสินค้าทางการเกษตรได้ดี, ศึกษาแนวคิดการออกแบบจากที่มาของจังหวัดสระบุรีต้นกำเนิดข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ เพิ่มลงไปบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างเอกลักษณ์ทำให้เกิดการจดจำและประทับใจในการนำไปเป็นของฝากในเทศกาลพิเศษต่างๆได้ เพราะออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีการบ่งชี้ถึงประวัติความเป็นมาของผลผลิตข้าวเจ๊กเชยเสาไห้จะช่วยให้กลุ่มเกษตรกรมีผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเอง และกลุ่มในการจัดจำหน่ายข้าว อันเป็นแนวทางเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เจ๊กเชยเสาไห้ จังหวัดสระบุรีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectPackaging Designen_US
dc.subjectPackagingen_US
dc.subjectRice Packageen_US
dc.subjectJekchuy Saohai Riceen_US
dc.subjectการออกแบบบรรจุภัณฑ์en_US
dc.subjectบรรจุภัณฑ์en_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์ข้าวen_US
dc.subjectข้าวเจ๊กเชยเสาไห้en_US
dc.titleการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับข้าวเจ๊กเชย เสาไห้ จ.สระบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Appropriate Packaging Design for Jekchuy Saohai Rice of Saraburi Province,Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.