Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธัชธรรม ศิลป์สุพรรณen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 8, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 1-22en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77847/73408en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66340-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractนอยซ์ เป็นเสียงรูปแบบหนึ่งที่มักถูกนิยามด้วยความหมายเชิงลบ อีกทั้ง ในบริบทของดนตรีตะวันตก นอยซ์ยังได้ถูกกีดกันจากความเป็น เสียงดนตรี มานานหลายศตวรรษ แต่ถึงอย่างไรก็ตาม นอยซ์ได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในดนตรี ตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นของศตวรรษที่ยี่สิบจวบจนกระทั่งปัจจุบัน โดยศิลปินหลาย ๆ คนได้ริเริ่มทดลองคิด ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติการสุนทรีย์ ในการผนวกนอยซ์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของดนตรี ผ่านวิธีการและกระบวนการอันหลากหลาย อาทิ (1) การผลิตหรือสรรหาเครื่องสร้างเสียงใหม่ (2) การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเหลือ (3) การคิดค้นเทคนิคการสร้างนอยซ์ออกมาจากเครื่องดนตรีขนบนิยม และ (4) การนำนอยซ์ที่ปรากฏในสภาวะแวดล้อมมาใช้ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นการนำมาสู่การปฏิวัติเชิงสุนทรีย์ศาสตร์ของดนตรี โดยเฉพาะในบริบทร่วมสมัย บทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของนอยซ์ ในบริบทของการสร้างสรรค์ดนตรี ผ่านการสำรวจพรมแดนความคิดของศิลปินและนักคิดแนวหน้าที่เกี่ยวข้องหลาย ๆ คน ทั้งนี้ เนื่องจากข้อมูลที่ค้นคว้า พบว่ามีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมากมาย ซึ่งผู้เขียนไม่สามารถจะนำเสนอได้ทั้งหมดภายในบทความฉบับเดียว จึงได้พยายามเรียบเรียงบทความนี้ ในลักษณะของการสรุปเฉพาะหัวข้อประเด็นสำคัญ โดยหวังว่าจะมีความครอบคลุมเนื้อหาโดยส่วนใหญ่ ซึ่งสามารถเป็นนำมาใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้อ่านที่สนใจ ทำการค้นคว้าเพิ่มเติมเองต่อไปได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectNoiseen_US
dc.subjectNew Musicen_US
dc.subjectAesthetics of Musicen_US
dc.subjectนอยซ์en_US
dc.subjectดนตรีสมัยใหม่en_US
dc.subjectสุนทรียศาสตร์ดนตรีen_US
dc.titleนอยซ์กับการปฏิวัติเชิงสุนทรียศาสตร์ของดนตรีen_US
dc.title.alternativeNoise and its aesthetic revolution in musicen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.