Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66317
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สายชล สุขญาณกิจ | en_US |
dc.contributor.author | ธนภัทร ปลื้มพวก | en_US |
dc.contributor.author | ธนวรรณ พาณิชพัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเกษตร 35, 1 (ม.ค. 2562), 61-73 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0841 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=141&CID=1122 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66317 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (ม.ค. พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | สืบเนื่องจากสถานการณ์ราคาข้าวตกต่ำในปัจจุบัน การจัดการปัจจัยการผลิตโดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยของเกษตรกรจึงเป็นสิ่งสำคัญในการทำการเกษตร โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดปุ๋ยพืชสดร่วมกับการจัดการปุ๋ยต่อผลผลิต การดูดใช้ธาตุอาหาร และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของข้าวพันธุ์ กข47 ที่ปลูกในชุดดินอยุธยา วางแผนการทดลองแบบ factorial in randomized complete block จำนวน 3 ซ้ำ ปัจจัยที่ 1 คือ ไม่ปลูกพืชปุ๋ยสด (A1) ปลูกถั่วเขียว (A2) และปลูกถั่วเหลืองเป็นปุ๋ยพืชสด (A3) ปัจจัยที่ 2 คือ การจัดการปุ๋ย ได้แก่ ไม่ใส่ปุ๋ย (B1) ใส่ปุ๋ยเคมีในอัตราเทียบเท่าปริมาณธาตุอาหารที่ได้จากปุ๋ยอินทรีย์ 500 กก./ไร่ (B2) และใส่ปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 500 กก./ไร่ (B3) ผลการทดลองพบว่ากรรมวิธีการใช้ถั่วเหลืองเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทำให้ข้าวมีผลผลิตเมล็ดสูงที่สุด (1,048.0 กก./ไร่) นอกจากนี้ยังมีผลให้การดูดใช้ธาตุอาหารในเมล็ดและโดยรวมทั้งต้นสูงที่สุด (10.5, 2.4 และ 3.7 กก.N-P-K/ไร่ ในเมล็ด และ 15.4, 3.2 และ 23.4 กก.N-P-K/ไร่ โดยรวมทั้งต้น) แต่เมื่อพิจารณาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจพบว่ากรรมวิธีการใช้ถั่วเหลืองเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับใช้ปุ๋ยเคมีให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงที่สุด (9,242.78 บาท/ไร่) ด้านสมบัติดินหลังเก็บเกี่ยว พบว่าการใช้ถั่วเขียวเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยเคมีมีแนวโน้มให้ดินคงความอุดมสมบูรณ์ได้สูงที่สุด | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปุ๋ยพืชสด (Green manure) | en_US |
dc.subject | ปุ๋ยเคมี (chemical fertilizer) | en_US |
dc.subject | ปุ๋ยอินทรีย์ (organic fertilizer) | en_US |
dc.subject | ข้าวพันธุ์ กข47 (rice cv. RD47) | en_US |
dc.subject | ชุดดินอยุธยา (Ayutthaya soil series) | en_US |
dc.title | ผลของชนิดปุ๋ยพืชสดร่วมกับการจัดการปุ๋ยต่อผลผลิต การดูดใช้ธาตุอาหาร และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของข้าวพันธุ์ กข47 ที่ปลูกในชุดดินอยุธยา | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Green Manures and Fertilizer Managements on Yield, Nutrient Uptake and Economic Return of Rice cv. RD47 Grown in Ayutthaya Soil Series | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.