Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66300
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อำไพ พรลีแสงสุวรรณ์ | en_US |
dc.contributor.author | สุนทร คำยอง | en_US |
dc.contributor.author | นิวัติ อนงค์รักษ์ | en_US |
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2554 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเกษตร 27, 3 (ต.ค. 2554), 247-257 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0841 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00114_C00835.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66300 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (ม.ค. พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษาสมบัติทางกายภาพ-เคมีและปริมาณธาตุอาหารในดินป่าดิบเขาต่ำที่เหลือเป็นหย่อม พื้นที่หน่วยจัดการต้นน้ำบ่อแก้ว อ. สะเมิง จ. เชียงใหม่ วางแปลงสุ่มตัวอย่างขนาด 40 x 40 ตร.ม. ในแต่ละหย่อมป่าจำนวน 5 แห่ง วัดการเจริญเติบโตของไม้ยืนต้นทุกต้นในแปลงที่มีความสูงมากกว่า 1.5 ม. เก็บตัวอย่างดินตามความลึกหย่อมป่าละ 1 หลุม พบว่า สังคมพืชมีความแตกต่างกันระหว่างหย่อมป่า ส่วนใหญ่มีสนสามใบ ก่อเดือย ก่อแป้นและทะโล้เป็นพันธุ์ไม้เด่น ดินชั้นบนในทุกหย่อมป่ามีความหนาแน่นรวมต่ำและมีเนื้อหยาบเป็นดินร่วนปนทราย ส่วนดินชั้นล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนและร่วนเหนียว ในหย่อมป่าที่ 2 ดินชั้นบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายและดินชั้นล่างเป็นดินเหนียวและร่วนเหนียว ดินชั้นบนในหย่อมป่าส่วนใหญ่เป็นกรดจัดและเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัดในดินชั้นล่าง ความเข้มข้นของอินทรียวัตถุในดินชั้นบนของทุกหย่อมป่ามีค่าสูงมาก แต่ไนโตรเจนทั้งหมดมีค่าผันแปร มีฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ปานกลางถึงค่อนข้างสูงในดินชั้นบน โพแทสเซียมที่สกัดได้มีค่าสูงตลอดชั้นดินของทุกหย่อมป่า แต่โซเดียมมีค่าต่ำตลอดชั้นดิน แคลเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่าปานกลางถึงต่ำ ปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอนและไนโตรเจนในดินลึก 160 ซม. มีค่าผันแปรระหว่าง 164.0-476.6, 95.1-276.5 Mg/ha และ 9,048-19,845 kg/ha ตามลำดับ โดยปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอนและไนโตรเจนในดินหย่อมป่าที่ 2 มีค่าต่ำสุด | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ลักษณะดิน | en_US |
dc.subject | ปริมาณธาตุอาหารในดิน | en_US |
dc.subject | ป่าที่เหลือเป็นหย่อม | en_US |
dc.subject | ป่าดิบเขาต่ำ | en_US |
dc.subject | สังคมพืช | en_US |
dc.title | ลักษณะสังคมพืช ลักษณะดินและปริมาณธาตุอาหารในดินป่าดิบเขาต่ำที่เหลือเป็นหย่อม อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Plant Communities, Soil Characteristics and Nutrient Storages in Fragmented Lower Montane Forests, Sa Moeng District, Chiang Mai Province | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.