Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorษมาภร ภูวิธกรณ์en_US
dc.contributor.authorจิราพร ปอสูงเนินen_US
dc.contributor.authorสุภาพร กลิ่นคงen_US
dc.contributor.authorคนึงนิตย์ เหรียญวรากรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 1 (ม.ค. 2562), 101-111en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00141_C01125.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66298-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (ม.ค. พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractColumnea latent viroid (CLVd) สามารถเข้าทำลายพริก 6 พันธุ์ ที่นำมาศึกษาในครั้งนี้และเมื่อตรวจสอบด้วยเทคนิค reverse transcription-polymerase chain reaction (RT-PCR) พบว่ามีอัตราการเข้าทำลาย 67-100% โดยต้นพริกที่ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการ หรือแสดงอาการหลังการติดเชื้ออย่างช้า ๆ ได้แก่ พริกขี้หนู (Capsicum frutescens) มีลักษณะอาการใบยอดผิดปกติ ปลายใบม้วนพับไปด้านหลังและมีขนาดลดลง ดอกผิดปกติและกลีบดอกมีสีเขียวอ่อน ติดผลน้อยและไม่มีการพัฒนาของเมล็ดภายในผลหลังได้รับการปลูกเชื้อนาน 6 เดือน เมื่อศึกษาการถ่ายทอดทางเมล็ดของเชื้อไวรอยด์ในพริกหวาน 2 (Sweet pepper 2) ที่ตรวจพบการติดเชื้อของต้น 100% และมีการติดเมล็ด พบว่าเมื่อนำเมล็ดที่ได้ไปปลูกในสภาพโรงเรือน มีต้นพริกที่งอกจำนวนทั้งหมด 26 ต้นจากเมล็ดที่นำมาทดสอบ 100 เมล็ด (ความงอก 26%) เมื่อต้นพริกอายุครบ 10 สัปดาห์ นำใบมาตรวจหาเชื้อ CLVd ด้วยเทคนิค RT-PCR เพื่อยืนยันการถ่ายทอดผ่านทางเมล็ดสู่ต้นอ่อน ผลการตรวจพบ 16 ต้น จาก 26 ต้น ตรวจพบเชื้อ CLVd ซึ่งคิดเป็นอัตราการถ่ายทอดผ่านทางเมล็ดของเชื้อ CLVd ในพริกหวาน 2 ดังกล่าวเท่ากับ 61.5% จากงานทดลองนี้สามารถยืนยันได้ว่าเชื้อ CLVd สามารถถ่ายทอดทางเมล็ดพริกหวานได้ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเชื้อ CLVd ในแปลงปลูกพริก เนื่องจากพริกส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการทำให้ยากที่จะขจัดต้นติดเชื้อออกไปจากพื้นที่ปลูก ดังนั้นการใช้เมล็ดพันธุ์พริกที่ปลอดโรคจะสามารถควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์ได้ดีที่สุดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไวรอยด์ (Viroid)en_US
dc.subjectพริก (pepper)en_US
dc.subjectการถ่ายทอดทางเมล็ด (seed transmission)en_US
dc.titleการเข้าทำลายและการถ่ายทอดทางเมล็ดของ Columnea latent viroid ในพริกen_US
dc.title.alternativeInfection and Seed Transmission of Columnea latent viroid in Peppersen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.