Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐพนธ์ อนุสรณ์ทรางกูรen_US
dc.contributor.authorปรีชญา ครูเกษตรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 6, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 48-73en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/169891/142535en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66286-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractหลายประเทศเริ่มต้นการระบุตัวตนผ่านวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง โดยการตรวจสอบ กฎ และค่านิยมดั้งเดิมของตนเอง การระบุลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมดังกล่าวมีผลโดยตรงต่อการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในแบบร่วมสมัย เนื่องจากสภาพแวดล้อมภายในของแต่ละภูมิภาคสะท้อนถึงการรับรู้การแก้ปัญหาที่เฉพาะเจาะจงต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของแต่ละพื้นที่ รวมถึงพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมเฉพาะภูมิภาคขึ้น ถือเป็นภูมิปัญญาอันสะสมของบรรพบุรุษมาแต่ช้านาน ดังนั้น เอกลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ควรคำนึงถึงในกระบวนการออกแบบ การรับรู้ถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสังคมในท้องถิ่นผ่านการออกแบบสภาพแวดล้อมภายใน อาจสามารถนำมาซึ่งผลประโยชน์เกี่ยวกับเศรษฐกิจของชุมชน และการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนได้ ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยมีจุดประสงค์ในการวิจัย คือ เพื่อเสนอกระบวนการค้นหา อัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อใช้ในการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในแบบร่วมสมัย เนื่องจากการออกแบบถือเป็นหนึ่งในลำดับความสำคัญในการแข่งขันต่อการเพิ่มคุณค่าและการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นของชุมชน จากมุมมองด้านการจัดการคุณภาพความรวดเร็วในการออกแบบ และกระบวนการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในที่แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของคุณภาพการออกแบบในประเด็นด้านการสืบทอด และการอนุรักษ์วัฒนธรรมนั้นๆ เนื่องจากความพยายามในการออกแบบมักมีแรงผลักดันต่อการรับรู้ของผู้คนผ่านการออกแบบที่ดีที่สุด โดยผู้วิจัยเลือกเรือนแถวไม้ริมคลองอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นกรณีศึกษา จากชุมชนที่มีการจัดการการท่องเที่ยวในรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์หรือการท่องเที่ยววิถีชีวิตen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเรือนแถวไม้en_US
dc.subjectนักออกแบบข้ามวัฒนธรรมen_US
dc.subjectอัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นen_US
dc.subjectการออกแบบร่วมสมัยen_US
dc.titleกระบวนการค้นหาอัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อใช้ในการออกแบบร่วมสมัย: กรณีศึกษา เรือนแถวไม้ริมคลองอัมพวาen_US
dc.title.alternativeThe searching process for social and cultural identities for contemporary design: case studies of wooden row houses along Amphawa Canalen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.