Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกษมา พลกิจen_US
dc.contributor.authorปวร มณีสถิตย์en_US
dc.contributor.authorยุพเรศ สิทธิพงษ์en_US
dc.contributor.authorสถาปนา กิตติกุลen_US
dc.contributor.authorรณวีร์ สุวรรณทะมาลีen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 6, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 2-23en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/169553/142528en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66284-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractสเกลถือเป็นศูนย์กลางของหลักการวิจัยเชิงพื้นที่ แต่ในสาขาภูมิสถาปัตยกรรม และการวางแผนสิ่งแวดล้อมซึ่งมีการวิจัยเชิงพื้นที่เป็นหัวใจสำคัญกลับมิได้หยิบยกประเด็นต่างๆ ในเรื่องสเกลขึ้นมาศึกษาและตั้งคำถาม โดยมองสเกลเป็นเรื่องพื้นฐานทั่วไป ด้วยเหตุนี้บทความนี้จึงได้ค้นหา ศึกษาประเด็นต่างๆ เรื่องสเกลจากการทบทวนวรรณกรรมใน 2 สาขาวิชาหลักที่มีความสัมพันธ์กับการวิจัยเชิงพื้นที่เป็นสำคัญ ได้แก่ สาขาภูมิศาสตร์ และสาขานิเวศภูมิทัศน์ ทั้งสองสาขาได้หยิบยกประเด็นเรื่องสเกลขึ้นมาเป็นประเด็นสำคัญของการศึกษาวิจัย ซึ่งทั้งคู่มีความเหมาะสมเนื่องจากต่างเป็นสาขาที่ศึกษาวิจัย และนำเสนอองค์ความรู้พื้นฐานแก่หลายๆ สาขารวมถึงสาขา ภูมิสถาปัตยกรรมและการวางแผนสภาพแวดล้อมที่ศึกษาเรื่องระบบมนุษย์กับสภาพแวดล้อม บทความได้อธิบายว่า สเกล คืออะไรผ่านการมองสเกลจากธรรมเนียมปฏิบัติของงานวิจัยจาก 2 สำนักความคิดทางสเกล ได้แก่ สเกลเชิงวิทยาศาสตร์ และสเกลอันเป็นผลประกอบสร้างทางสังคม บทความนี้สนับสนุนให้มีการอภิปรายประเด็นในเรื่องสเกลอย่างเปิดเผยตั้งแต่เริ่มกระบวนการวิจัยเพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนระหว่างผู้ศึกษาวิจัย โดยโต้ว่าหากเรามีความเข้าใจประเด็นต่างๆ เรื่องสเกลที่ดีขึ้นไม่เพียงแต่จะเป็นการช่วยในการสร้างกรอบความคิดการศึกษา และจัดการปรากฏการณ์เชิงพื้นที่ที่ซับซ้อนโดยใช้การศึกษาวิจัยแบบหลายระดับเท่านั้น แต่ยังเกื้อหนุนแนวทางการวิจัยในลักษณะที่ใช้ทีมนักวิจัยแบบสหวิทยาการอีกด้วยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสเกลen_US
dc.subjectการวิจัยหลายระดับen_US
dc.subjectระบบมนุษย์กับสภาพแวดล้อมen_US
dc.subjectภูมิสถาปัตยกรรมen_US
dc.subjectการวางแผนสภาพแวดล้อมen_US
dc.titleสเกลนั้นสำคัญไฉน: สเกลกับธรรมเนียมปฏิบัติของการวิจัยen_US
dc.title.alternativeDose scale matter?: scale and research traditionsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.