Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66283
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorถิรวัฒน์ พิมพ์เวินen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 6, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 24-47en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/139453/142533en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66283-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยเป็นประเภทอสังหาริมทรัพย์ที่ปรากฏมากที่สุด มีสัดส่วน ประมาณ 2 ใน 3 ของมูลค่าตลาดอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย เมื่อตลาดอสังหาริมทรัพย์เข้าสู่ช่วงอิ่มตัว มีโครงการอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ ที่พัฒนาสู่ตลาดให้ผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อได้เลือกสรรตามความพึงพอใจ แต่กลับพบว่า รูปแบบการพัฒนาเป็นการมุ่งให้เกิดการตอบสนองการผลิตแบบอุตสาหกรรม (mass product) และไมได้ส่งเสริมให้เกิดการสร้างความสัมพันธ์ในชุมชนใหม่เท่าที่ควร ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว รากฐานวัฒนธรรมของชุมชนสังคมไทยคือการมีวิถีชีวิตที่พึ่งพากัน และใช้พื้นที่ทางสังคมของชุมชนร่วมกัน นอกจากโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยที่ดำเนินการโดยภาครัฐแล้ว ยังมีบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หลายแห่งได้มีความพยายามในการสร้างความเป็นชุมชนในโครงการของตน โดยการเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา บทความฉบับนี้ ศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมที่เกิดขึ้นทั้งในกระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย และกระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย โดยกระบวนการมีส่วนร่วมที่ดำเนินการโดยผู้ประกอบการภาคเอกชน และภาครัฐบาล เพื่อหาแนวทางในการนำกระบวนการมีส่วนร่วม ไปประยุกต์ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยในอนาคต โดยใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรมในการศึกษาผ่าน 2 โครงการกรณีศึกษา คือ โครงการบ้านเดียวกัน 2 (โค-เฮาส์ซิ่ง) และโครงการบ้านมั่นคง ชุมชนรุ่งมณีพัฒนาen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกระบวนการพัฒนาen_US
dc.subjectโครงการอสังหาริมทรัพย์en_US
dc.subjectที่อยู่อาศัยen_US
dc.subjectกระบวนการมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectบ้านมั่นคงen_US
dc.titleกระบวนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยโดยการมีส่วนร่วม: กรณีศึกษา โครงการที่อยู่อาศัยโค-เฮาส์ซิ่ง (Co-housing) และโครงการบ้านมั่นคงen_US
dc.title.alternativeThe residential real estate development process through participation: case study of Co-housing project and Baan Mankong projecten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.