Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66281
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศุภกิจ ยิ้มสรวล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | เจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 100-129 | en_US |
dc.identifier.issn | 2351-0935 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/203345/141805 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66281 | - |
dc.description | วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อกำหนดแนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการ ท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อนในประเทศไทย โดยทำการศึกษาจากแหล่งพุน้ำร้อนในพื้นที่ภาคเหนือ ตามเส้นทางสายพุน้ำร้อน เมืองสปาและหมู่บ้านพุน้ำร้อนต้นแบบน้ำร่องเส้นทางที่ 1 (จ. แม่ฮ่องสอน - จ. เชียงใหม่ - จ. เชียงราย) โดยประยุกต์หลักการจำแนกเขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยหลักช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ หรือ The recreation opportunity spectrum (ROS) เพื่อใช้จำแนกประเภทและความเหมาะสมในการพัฒนาแหล่งพุน้ำร้อนตามประเด็นพิจารณา 3 ประการ ได้แก่ 1) ศักยภาพและคุณภาพของแหล่งพุน้ำร้อน 2) บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนโดยรอบแหล่งพุน้ำ ร้อน 3) การบริหารจัดการแหล่งพุน้ำร้อนในมิติของแหล่งท่องเที่ยว โดยพิจารณาควบคู่กับการศึกษาด้านขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ (carrying capacity, CC) ระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้ (limits of acceptable change, LAC) และรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เหมาะสม ประกอบกับการสำรวจภาคสนามทางกายภาพเพื่อจัดทำข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) และแผนที่ฐาน (base map) พื้นที่พุน้ำร้อน จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อกำหนดแนวทางการวางผังบริเวณ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ภูมิสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยสามารถสรุปรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 3 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ธรรมชาติและสงวนรักษา พื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการ และพื้นที่ควบคุมเพื่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการพัฒนาต้นแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว ประกอบด้วย สิ่งอำนวยความสะดวกด้านการเข้าถึงและระบบสัญจร สิ่งอำนวยความสะดวกด้านสิ่งปลูกสร้างและสิ่งอำนวยความสะดวกประกอบบริเวณนั้น การวิจัยได้ทำการสำรวจข้อมูลภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชนโดยรอบพื้นที่พุน้ำร้อน อาทิ สถาปัตยกรรม ผลิตภัณฑ์ ศิลปหัตถกรรมและการใช้วัสดุท้องถิ่น เพื่อนำมาวิเคราะห์และสร้างภาพลักษณ์สถานที่ (destination image) เพื่อให้การพัฒนาต้นแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวมีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและและภูมิทัศน์วัฒนธรรมท้องถิ่น รวมทั้งสามารถแสดงภาพลักษณ์สถานที่ที่แตกต่างกันของแหล่งพุน้ำร้อนได้ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | แนวทางการออกแบบ | en_US |
dc.subject | สิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | ภูมิสถาปัตยกรรม | en_US |
dc.subject | แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติพุน้ำร้อน | en_US |
dc.title | แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน | en_US |
dc.title.alternative | Tourism facilities and landscape design guideline for natural hot spring tourist attraction | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.