Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66279
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อรรณพ พลชนะ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | เจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 130-147 | en_US |
dc.identifier.issn | 2351-0935 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/203347/141807 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66279 | - |
dc.description | วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน | en_US |
dc.description.abstract | งานเขียนทัศนียภาพมีความเป็นรูปธรรมสูงจึงง่ายในการทำความเข้าใจสามารถประเมินระดับความ พึงพอใจโดยใช้ประสบการณ์เฉพาะตัวของแต่ละบุคคลได้ ดังนั้น ในการสื่อสารแนวความคิดในการออกแบบของสถาปนิกจึงมักใช้ภาพเขียนทัศนียภาพเป็นเครื่องมือลำดับแรกๆ ในการสื่อสารกับบุคคลทั่วไป บทความนี้ทำการศึกษาเฉพาะงานเขียนทัศนียภาพภายในอาคาร โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 3 ประเด็นคือ 1) วิเคราะห์รูปแบบภาพเขียนทัศนียภาพงานสถาปัตยกรรมภายในช่วงปี พ.ศ.2530-2560 2) วิธีการสื่อสารแนวคิดงานออกแบบของสถาปนิก 3) เปรียบเทียบรูปแบบภาพเขียนทัศนียภาพในด้านประสิทธิภาพการสื่อสารแนวคิด เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวจึงทำการทบทวนวรรณกรรรมเป็นขั้นตอนแรกในส่วนการสื่อสารแนวความคิดในการออกแบบโครงสร้างของภาพเขียนทัศนียภาพ และประเภทของภาพเขียนทัศนียภาพเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดประเด็นในการวิเคราะห์ภาพเขียนทัศนียภาพ ในขั้นตอนที่สองทำการรวบรวมภาพเขียนทัศนียภาพตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2530-2560 นำมาจัดกลุ่มภาพเขียนทัศนียภาพตามช่วงยุคสมัยเป็น 3 ช่วงคือ 1) ภาพเขียนทัศนียภาพช่วง พ.ศ. 2530- 2540 2) ภาพเขียนทัศนียภาพช่วง พ.ศ. 2541-2550 3) ภาพเขียนทัศนียภาพช่วง พ.ศ. 2551-2560 แล้วคัดเลือกภาพเขียนทัศนียภาพแบบตามสะดวกยุคสมัยละสี่ภาพทำการศึกษาใน 4 ประเด็นคือ 1) ลักษณะโครงสร้างการเขียนภาพ (เส้นระดับสายตา จุดรวมสายตา) 2) ประเภทภาพเขียน (แบ่งตามลักษณะทางกายภาพ/แบ่งตามอุปกรณ์ในการเขียน) 3) ขั้นตอนการเขียน 4) ช่วงเวลาการนำไปใช้ จนเกิดเป็นผลการศึกษาให้เห็นลำดับขั้นของพัฒนาการงานเขียนทัศนียภาพในรอบ 3 ทศวรรษ (ในประเด็นของโครงสร้างภาพ/ประเภท/ขั้นตอน/ช่วงเวลาการนำไปใช้) วิธีการสื่อสารแนวคิด | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การเขียนทัศนียภาพ | en_US |
dc.subject | แนวความคิดในการออกแบบ | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรมภายใน | en_US |
dc.subject | การออกแบบ | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร | en_US |
dc.subject | แนวคิด | en_US |
dc.title | พัฒนาการของงานเขียนทัศนียภาพกับคุณภาพการสื่อสารแนวคิดงานออกแบบ | en_US |
dc.title.alternative | Perspective drawing evolution and the quality of conceptual design communication | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.