Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยุทธนา ทองท้วมen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationเจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 62-81en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/203338/142968en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66277-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractสภาพอากาศเป็นดัชนีการออกแบบอาคารหนึ่งในการเลือกใช้เทคนิคทางธรรมชาติ การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจสภาพอากาศเฉพาะท้องถิ่นเชียงใหม่ได้โดยประเมินจากแผนภาพไบโอไคลเมติก และเข้าใจศักยภาพการออกแบบระบบธรรมชาติ ด้วยเงื่อนไขที่ยอมรับได้ของสภาวะน่าสบายตามมาตรฐาน ASHRAE 55 วิเคราะห์ตามเงื่อนไขช่วงเวลาการใช้งานอาคาร มวลสารอาคาร และความเร็วลม พบว่าลักษณะเฉพาะสภาพอากาศส่วนใหญ่ 29.50% มีลักษณะอุณหภูมิสูง ความชื้นเหมาะสม รองลงมา 23.97% มีลักษณะอุณหภูมิเหมาะสมแต่ความชื้นสูงมาก และ 21.01% มีลักษณะสภาวะน่าสบาย ส่วนศักยภาพของการออกแบบระบบธรรมชาติ พบว่าการใช้งานในช่วงกลางวัน 10.00-17.00 น. มีสัดส่วนสภาวะน่าสบายที่ยอมรับได้น้อยเนื่องจากอิทธิพลของอุณหภูมิโดยเฉพาะในฤดูร้อนและฝน กรณีอาคารมวลสารน้อยจะมีสัดส่วนสภาวะ น่าสบายใกล้เคียงกับภายนอก กรณีอาคารมวลสารกลางมีสัดส่วนสภาวะน่าสบายน้อยเนื่องจากปัญหาการสะสมความร้อน ซึ่งหากไม่เปิดหน้าต่างจะยิ่งมีสัดส่วนสภาวะน่าสบายน้อยลง ส่วนกรณีอาคารมวลสารมากจะมีความสามารถในการกักเก็บความร้อนได้นานกว่าจึงมีสัดส่วนสภาวะน่าสบายสูงที่สุดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสภาพอากาศen_US
dc.subjectสภาวะน่าสบายen_US
dc.subjectการออกแบบระบบธรรมชาติen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.titleอัตลักษณ์สภาพอากาศจังหวัดเชียงใหม่ที่ส่งผลต่อสภาวะน่าสบายที่ยอมรับได้เพื่อการออกแบบอาคารระบบธรรมชาติen_US
dc.title.alternativeThe Chiang Mai weather identification affecting acceptable thermal comfort to passive building designen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.