Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรืองen_US
dc.contributor.authorลลิตา จรัสกรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationเจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 44-59en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/136804/101963en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66273-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractบทความนี้สังเคราะห์ผลวิจัยในกลุ่มหัวข้อ พลวัตสถาปัตยกรรมในอาเซียน เกี่ยวกับสถาปัตยกรรม พื้นถิ่นลาหู่และการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ และเชียงราย กรณีศึกษา หมู่บ้านขอบด้ง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และหมู่บ้านห้วยน้ำริน อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ทั้งสองหมู่บ้านที่เลือกศึกษาตั้งอยู่บนพื้นที่ลาดเชิงเขา และมีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่หลากหลายทั้งดั้งเดิมและแบบสมัยใหม่ ได้ตั้งโจทย์การศึกษาในเรื่อง ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงของลักษณะสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในประเทศไทย โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ ทำการศึกษาปัจจัยครอบคลุมนโยบายการพัฒนาจากภาครัฐ และการส่งเสริมอาชีพจากศูนย์พัฒนาโครงการหลวง รวมถึงองค์กรต่างๆ จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การเกษตร การดำรงไว้ซึ่งชาติพันธุ์ของตน เพื่อหาความเชื่อมโยงถึงสาเหตุแห่งการเปลี่ยนแปลง ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงสภาพสังคมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วของวิทยาการสื่อสาร ของโลกาภิวัตน์ในประเทศไทย ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้การรับเอาวัฒนธรรมการปลูกสร้างเรือนแบบอย่างคนไทยเข้าไปประยุกต์กับเรือนลาหู่ ทำให้ในปัจจุบันเรือนลาหู่มีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากเรือนแบบดั้งเดิมไปเป็นเรือนแบบสมัยใหม่ จนแทบไม่เหลือเค้าโครงของเรือนแบบดั้งเดิม เนื่องมาจากปัจจัยที่เกิดขึ้นทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก แต่สิ่งสำคัญที่ได้จากการศึกษาชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ที่ยังคงมีคุณค่าทางด้านศิลปะ สะท้อนถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของลาหู่en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นen_US
dc.subjectชาติพันธุ์en_US
dc.subjectลาหู่en_US
dc.subjectพลวัตen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงen_US
dc.titleพลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นลาหู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeDynamics of Lahu vernacular architecture in the upper north of Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.