Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66254
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิชชุดา มากมายen_US
dc.contributor.authorสุนิดา ปรีชาวงษ์en_US
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ตรีนัยen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 59-69en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197104/137100en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66254-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการสัมผัสควันบุหรี่มือสองในเด็กป่วยโรคหืดส่งผลให้อาการของโรคกำเริบบ่อยขึ้นและรุนแรงมากขึ้น การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ในบิดา-มารดาเด็กป่วยโรคหืด กลุ่มตัวอย่างคือ บิดา-มารดาที่สูบบุหรี่ของเด็กป่วยโรคหืดอายุต่ำกว่า 5 ปี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 50 คน จัดให้กลุ่มตัวอย่าง 25 คนแรกเป็นกลุ่มควบคุม และจัดให้กลุ่มตัวอย่างอีก 25 คนหลังเข้ากลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุมได้รับคำแนะนำตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ แบบสอบถามเกี่ยวกับการเลิกบุหรี่ และแบบประเมินพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบด้วยสถิติที ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของบิดา-มารดาในกลุ่มทดลองสูงกว่าในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่สามารถทำให้พฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของบิดา-มารดาเด็กป่วยโรคหืดดีขึ้น จึงควรนำไปเป็นแนวทางในการดูแลเด็กป่วยโรคหืด เพื่อลดการสัมผัสควันบุหรี่มือสองen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่en_US
dc.subjectพฤติกรรมการเลิกบุหรี่en_US
dc.subjectการสัมผัสควันบุหรี่มือสองen_US
dc.subjectเด็กป่วยโรคหืดen_US
dc.subjectบิดา-มารดาen_US
dc.subjectแบบจำลองการสร้างเสริมสุขภาพของเพนเดอร์en_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่สำหรับบิดา-มารดา เพื่อลดการสัมผัสควันบุหรี่มือสองในเด็กป่วยโรคหืดen_US
dc.title.alternativeEffect of Promoting Smoking Cessation Program for Parents to Reduce Secondhand Smoke Exposure in Pediatric Patients with Asthmaen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.