Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวินีกาญจน์ คงสุวรรณen_US
dc.contributor.authorวันดี สุทธรังษีen_US
dc.contributor.authorศรีสุดา นาลีสินen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 108-119en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197140/137138en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66253-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรมแกรมพัฒนาแกนนำเยาวชนไทยมุสลิมต่อการป้องกันการใช้ความรุนแรงในเยาวชนชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลา จำนวน 480 คน เครื่องที่ใช้ในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบวัดทักษะการจัดการความรุนแรงในวัยรุ่น แบบสอบถามทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรง แบบวัดพฤติกรรมก้าวร้าว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Independent t-test และ Paired t-test สรุปผลการวิจัยดังนี้ กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมก้าวร้าว ลดลงต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .05) แม้ว่าคะแนนเฉลี่ยของทักษะในการจัดการความรุนแรง ทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรงของกลุ่มทดลองจะมีความแตกต่างจากกลุ่มควบคุม อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ถ้าพิจารณารายจังหวัด ก็จะพบว่าเยาวชนในแต่ละจังหวัด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในทักษะการจัดการความรุนแรง ทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรงที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้น การเพิ่มความสามารถในการเป็นแกนนำเยาวชนเพื่อป้องกันการใช้ความรุนแรงจึงเป็นการเพิ่มความสามารถในการดูแลตนเองและผู้อื่นได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการช่วยปรับทัศนคติ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการใช้ความรุนแรง และการใช้ทักษะการจัดการความรุนแรงที่สำคัญคือทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด และความรับผิดชอบต่อสังคม และอาจต้องพิจารณาจัดให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ นอกจากนั้นนวัตกรรมที่เป็นคู่มือ และกิจกรรมการป้องกันการใช้ความรุนแรงจะเป็นแหล่งของการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียน และสถาบันการศึกษาที่สนใจต่อไปได้เป็นอย่างดีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectเยาวชนen_US
dc.subjectการป้องกันการใช้ความรุนแรงen_US
dc.subjectไทยมุสลิมen_US
dc.subjectสถานการณ์ไม่สงบen_US
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาแกนนำเยาวชนไทยมุสลิม ต่อการป้องกันการใช้ความรุนแรง ในเยาวชนชายแดนภาคใต้en_US
dc.title.alternativeThe Effect of the Development of a Core-Team Youth Thai-Muslim Program toward Violence Prevention among Youths in Southern Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.