Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66215
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศิริพร ด่านคชาธาร | en_US |
dc.contributor.author | จันจิรา มหาบุญ | en_US |
dc.contributor.author | มุจลินท์ อินทรเหมือน | en_US |
dc.contributor.author | มัตติกา ยงประเดิม | en_US |
dc.contributor.author | จักรพงษ์ อินพรม | en_US |
dc.contributor.author | จินตนา พืชผล | en_US |
dc.contributor.author | ซุนณีย์ สือแต | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:24Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:24Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | พยาบาลสาร 45, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2561), 111-120 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-0078 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/162660/117439 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66215 | - |
dc.description | วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ | en_US |
dc.description.abstract | พนักงานดับเพลิงเป็นอาชีพที่มีความเสี่ยงในชีวิตการปฏิบัติงานค่อนข้างมาก เพราะการเข้าผจญเพลิงในแต่ละครั้งต้องสัมผัสกับสิ่งคุกคามสุขภาพในหลายๆด้าน อาทิ ด้านกายภาพ ด้านเคมี ด้านชีวภาพ ด้านการยศาสตร์และด้านจิตวิทยาสังคม ที่จะส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของพนักงานดับเพลิง กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานดับเพลิงที่มีประสบการณ์ทำงาน 6 เดือนขึ้นไป จำนวน 87 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเชื่อมั่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงในส่วนของความเจ็บป่วยที่อาจเกี่ยวเนื่องจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพจากการทำงานที่สำคัญ คือ ด้านจิตวิทยาสังคม ได้แก่ ความเครียดในการทำงานหนักเกินไป (ร้อยละ 90.1) ด้านกายภาพ ได้แก่ความร้อน (ร้อยละ 89.7) มีการสัมผัสฝุ่น/ควัน (ร้อยละ 86.2) และด้านการยศาสตร์ ได้แก่ การทำงานมีการก้มโค้งลำตัว (ร้อยละ 87.4) ส่วนการเจ็บป่วยที่เกี่ยวกับการทำงานในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 96.6 มีความเครียดจากการเร่งรีบในการทำงาน และมีอาการระคายเคืองตาจากการสัมผัสแสงและความร้อน (ร้อยละ 93.1) อ่อนเพลียและเสียเหงื่อมาก (ร้อยละ 87.4) และ ปวดหลัง ปวดเอว (ร้อยละ 78.2) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า สำนักป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยของ จ.นครศรีธรรมราช รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรพิจารณาปริมาณงานกับจำนวนพนักงานดับเพลิงให้เพียงพอกับภาระงาน เพื่อลดความเครียดในการปฏิบัติงานที่หนักเกินไป และการเฝ้าระวังสุขภาพของพนักงานดับเพลิง เพื่อลดความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บจากการทำงาน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงาน | en_US |
dc.subject | ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน | en_US |
dc.subject | พนักงานดับเพลิง | en_US |
dc.title | ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของพนักงานดับเพลิง จังหวัดนครศรีธรรมราช | en_US |
dc.title.alternative | Health Risk Status Related to Work among Firefighters in Nakhon Si Thammarat Province | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.