Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุไรพร โสภาจารีย์en_US
dc.contributor.authorสกลพร โสภาจารีย์en_US
dc.contributor.authorชมพูนุช โสภาจารีย์en_US
dc.contributor.authorGabriel Ibarra-Mejiaen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:23Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:23Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 45, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2561), 76-87en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145081/107221en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66182-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractอาการปวดหลังส่วนล่างเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญเนื่องจากส่งผลกระทบต่อความสามารถในการทำงานและนำไปสู่การขาดงาน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงของการปวดหลังส่วนล่างของครูในจังหวัดอุตรดิตถ์และพิษณุโลก จำนวน 125 คน โดยเป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ให้ตอบด้วยตนเอง ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยความเครียดจากการปฏิบัติงาน และอาการปวดหลังส่วนล่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยลอจีสติก ผลการศึกษา พบว่า ความชุกของการปวดหลังส่วนล่างในระยะ 12 เดือนที่ผ่านมาของครูใน โรงเรียน เท่ากับ ร้อยละ 39.2 โดยปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับการปวดหลังส่วนล่าง คือ การมีประวัติเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับการปวดหลังส่วนล่าง (OR=5.5; 95%CI=1.15-26.77) เคยได้รับบาดเจ็บบริเวณหลังจากการปฏิบัติงาน (OR=2.5; 95%CI=1.00-6.21) และความเครียดจากการปฏิบัติงานเนื่องจากมีอุปกรณ์และสื่อการสอนไม่เพียงพอ (OR=2.9; 95%CI=0.97-8.66) ตามลำดับ ผลการศึกษานี้ผู้บริหารโรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางการป้องกันการปวดหลังส่วนล่างสำหรับครูในโรงเรียนต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาการปวดหลังส่วนล่างen_US
dc.subjectครูในโรงเรียนen_US
dc.subjectความชุกen_US
dc.subjectปัจจัยเสี่ยงen_US
dc.titleความชุกและปัจจัยเสี่ยงของการปวดหลังส่วนล่างของครูใน จังหวัดอุตรดิตถ์และพิษณุโลกen_US
dc.title.alternativePrevalence and Risk Factors of Low Back Pain Among School Teachers in Uttaradit and Phitsanulok Provincesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.