Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอารยา สุขสมen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:19Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:19Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 11, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 87-120en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/133688/118548en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66003-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractบทความนี้มุ่งศึกษา 1) เหตุผลและความจำเป็นของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และ 2) การปรับใช้หลักการห้ามเลือกปฏิบัติเพื่อคุ้มครองกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในองค์การสหประชาชาติ รวมถึงแนวทางปฏิบัติของต่างประเทศและประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพในลักษณะการทบทวนวรรณกรรมและการวิเคราะห์เอกสาร ทั้งนี้เพื่อแสวงหาแนวทางการตีความรัฐธรรมนูญเพื่อคุ้มครองกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผลจากการศึกษาพบว่า แนวคิดเรื่องความหลากหลายทางเพศเกิดจากการยอมรับว่าเพศของมนุษย์มิได้ยึดโยงกับเพศสรีระอีกต่อไป หากแต่มีความเชื่อมโยงกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศซึ่งมีความหลากหลายแตกต่างกัน ต่อมาองค์การสหประชาชาติได้นำเรื่องวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศมาใช้เป็นศูนย์กลางในการให้ความคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศภายใต้หลักการห้ามเลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้รัฐสมาชิกจึงมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีดังกล่าว ในบางประเทศจึงได้กำหนดให้วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศเป็นส่วนหนึ่งในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่รวมถึงประเทศไทยอาศัยการตีความหลักการห้ามเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเพศให้ครอบคลุมถึงวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ซึ่งการคุ้มครองจะมีประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความหลากหลายทางเพศของผู้บังคับใช้กฎหมายเป็นสำคัญen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความหลากหลายทางเพศen_US
dc.subjectวิถีทางเพศen_US
dc.subjectอัตลักษณ์ทางเพศen_US
dc.subjectรัฐธรรมนูญen_US
dc.titleรัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศen_US
dc.title.alternativeThai Constitution and Sexual Diversityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.