Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุรพี โพธิสาราชen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:19Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:19Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 11, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 121-141en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/134232/118551en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66001-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานรัฐ (Integrity & Transparency Assessment :ITA) ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ถูกเปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2557 โดยป.ป.ช.คาดหมายให้เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐ โดยการประเมิน ITA จะนำคะแนนแต่ละส่วนที่ได้จากการประเมินมาแปลผลเป็นดัชนีด้านต่างๆ และประมวลผลจากคะแนนที่ได้จากดัชนีที่กำหนด 5 ด้านมาเป็นคะแนนที่นำมาจัดลำดับคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานที่รับการประเมิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหนึ่งที่เข้ารับการประเมินบทความนี้ต้องการ ประเมิน ให้เห็นว่าเครื่องมือการประเมินคุณธรรมความโปร่งใสของป.ป.ช.ไม่สามารถประเมินคุณธรรม ความโปร่งใสได้จริงตามวัตถุประสงค์ที่มุ่งแก้ไขปัญหาทุจริตคอรัปชั่นในหน่วยงานภาครัฐแต่อย่างใด จากการที่ผู้เขียนในฐานะผู้ประเมินโครงการดังกล่าวพบว่าอุปสรรคในการประเมินในพื้นที่ที่รับผิดชอบนั้น เครื่องมือประเมินในส่วนของแบบสอบถามประชาชนที่เข้ารับบริการจากหน่วยงานนั้นมีการใช้ ภาษาที่เข้าใจยากและเป็นคำถามเชิงลึกทำให้ประชาชนที่มีความรู้น้อยและติดต่อหน่วยงานผิวเผินไม่เข้าใจในคำถามจึงทำให้ได้รับคำตอบไม่ตรงกับความจริง และการประเมินดังกล่าวเป็นการประเมินเอกสารซึ่งไม่เหมาะในการประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส ซึ่งในการการประเมินITAมีการตีความที่มุ่งให้ได้คะแนนมากกว่าการทำให้เกิดจิตสำนึกด้านคุณธรรม ความโปร่งใสอย่างแท้จริงในองค์กร อีกทั้งการประเมินITA ในส่วนของท้องถิ่นมีการประเมินที่ขาดความต่อเนื่องเหตุเพราะการประเมินปีเว้นปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทำให้ไม่เกิดการพัฒนาและปรับปรุงองค์กรอย่างแท้จริง บทความนี้จึงสะท้อนให้เห็นถึงการประเมินที่ไม่สามารถสะท้อนความจริงในเรื่องคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานรัฐen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสen_US
dc.subjectป.ป.ช.en_US
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.titleการประเมิน เครื่องมือประเมิน พิชิตความโกงของ ป.ป.ช. กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeThe ITA of NACC Assessment Tools for the Corruption Conquest A Case Study of the Local Administrative Organizationin Chiang Raien_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.