Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65983
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปัญญา ชัยรัตนพานิชen_US
dc.contributor.authorเริ่ม ใสแจ่มen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:33Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:33Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 35-54en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/168477/130761en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65983-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหารูปแบบกลยุทธ์การบริหารจัดการความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจผักแปรรูปส่งออกในตลาดอาเซียน ใช้เทคนิคผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษา คือ ผู้บริหารของธุรกิจผักแปรรูป ขนาดกลางและขนาดใหญ่ จำนวน 200 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้บริหารของธุรกิจผักแปรรูปที่ประสบผลสำเร็จในเชิงธุรกิจจำนวน 12 คน ผลการศึกษา (1) ศักยภาพของธุรกิจผักแปรรูปเบื้องต้น พบว่า ธุรกิจผักแปรรูปมียอดขายใกล้เคียงกับภาพรวมของตลาด มีการวางแผนกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม มีการลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาด และควรปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อให้ก้าวหน้ามากกว่าคู่แข่ง ในด้านความสามารถทางการสื่อสารของทีมบริหารพบว่า มีการสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศอาเซียนมากกว่า 5 ประเทศ และมีการค้าขายลงทุนแลกเปลี่ยนสินค้าในกลุ่มประเทศอาเซียน แล้ว (2) ระดับของกลยุทธ์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายนอก พบว่า ธุรกิจขนาดกลาง และธุรกิจขนาดใหญ่ ให้ความสำคัญกับกลยุทธ์ทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (3) การวิเคราะห์อิทธิพลของกลยุทธ์การบริหารจัดการความสามารถในการแข่งขันที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของธุรกิจผักแปรรูป พบว่า กลยุทธ์ทางการตลาด มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของธุรกิจผักแปรรูปด้านกำไรเพิ่มขึ้น และจำนวนกิจกรรมที่ได้รับรางวัลคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และกลยุทธ์การจัดการนวัตกรรมของธุรกิจ มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของธรกิจผักแปรรูปด้านยอดขายเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) รูปแบบธุรกิจ ต้องมุ่งสู่การเป็นธุรกิจที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมโดยเฉพาะนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมทางด้านกระบวนการผลิตen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกลยุทธ์การบริหารจัดการen_US
dc.subjectความสามารถในการแข่งขันen_US
dc.subjectธุรกิจผักแปรรูปen_US
dc.titleกลยุทธ์การบริหารจัดการความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจผักแปรรูปส่งออกในตลาดอาเซียนen_US
dc.title.alternativeThe Strategies Management of Competitiveness of Vegetables Processing Business entrepreneurs in ASEAN Marketen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.