Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65981
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กัญญ์สุดา นิ่มอนุสสรณ์กุล | en_US |
dc.contributor.author | เชาวนา เพชรรัตน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T08:45:33Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T08:45:33Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 22, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 93-107 | en_US |
dc.identifier.issn | 0859-8479 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/111099/92365 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65981 | - |
dc.description | วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้ทำการประมาณค่าอุปสงค์การใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนในภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งอัตราค่าไฟฟ้าที่ครัวเรือนส่วนมากใช้คืออัตราปกติซึ่งเป็นแบบอัตราเพิ่มขึ้น โดยทำการสำรวจข้อมูลจำนวน 550 ครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม่ นครสวรรค์ เชียงราย และพิษณุโลก ซึ่งทั้ง 4 จังหวัดมีปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงที่สุดในภาคเหนือ โดยทำการประมาณค่าอุปสงค์การใช้ไฟฟ้าโดยใช้วิธี Generalized Method of Moments (GMM) แล้วทำการทดสอบปัญหา Endogeneity ซึ่งพบว่าไม่มีปัญหา ดังนั้นจึงทำการประมาณค่าด้วยวิธี Ordinary Least Square (OLS) ผลการศึกษาพบว่า ไฟฟ้าเป็นสินค้าจำเป็น เพราะว่าค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาอยู่ระหว่าง -0.007 ถึง -0.009 แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนรายได้มีนัยสำคัญทางสถิติต่ออุปสงค์การใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน โดยมีค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้อยู่ในช่วง 0.090 ถึง 0.129 แสดงว่า ไฟฟ้าเป็นสินค้าปกติ นอกจากนี้ยังพบว่า ราคาแก๊สหุงต้ม ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวนสมาชิกในครัวเรือน จำนวนเครื่องปรับอากาศ และค่า Cooling degree day มีผลต่อปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | อุปสงค์ | en_US |
dc.subject | การใช้ไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | อัตราค่าไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | อัตราเพิ่มขึ้น | en_US |
dc.title | อุปสงค์การใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนภาคเหนือของประเทศไทย ภายใต้อัตราค่าไฟฟ้าแบบอัตราเพิ่มขึ้น | en_US |
dc.title.alternative | Household Demand for Electricity in Northern Thailand under Increasing Block Rate | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.