Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65973
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัญชลิการ์ ขันติ | en_US |
dc.contributor.author | สมเกียรติ อินทสิงห์ | en_US |
dc.contributor.author | สุนทรี คนเที่ยง | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T08:45:33Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T08:45:33Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | ศึกษาศาสตร๋สาร 3, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 34-41 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-825X | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/186726/131244 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65973 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Journal of Education) เป็นวารสารวิชาการระดับชาติ ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิมพ์เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และองค์ความรู้ใหม่อันเป็นความก้าวหน้าทางวิชาการด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ในยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ของนักวิชาการ อาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันภาษาจีนถือได้ว่าเป็นภาษาต่างประเทศที่มีความส าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาอังกฤษเนื่องจากประเทศจีนมีการ พัฒนาทางด้านเศรษฐกิจจนก้าวขึ้นมาเป็นมหาอ านาจไล่ตามสหรัฐอเมริกาและยุโรป สาเหตุที่ส าคัญอีกประการหนึ่งก็คือ มีผู้ใช้ ภาษาจีนอยู่ทั่วโลกหลายร้อยล้านคน เป็นผลท าให้การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยจะได้รับความนิยมเป็นอันดับสองรองจาก ภาษาอังกฤษ แต่ก็มีผู้เรียนภาษาจีนจ านวนมากประสบปัญหาในการเรียนภาษาจีน คือ ไม่สามารถสนทนา สื่อสารกับเจ้าของภาษาได้ หรือฟังไม่เข้าใจ ในความเป็นจริงแล้วการเรียนภาษาจีนให้ได้ผลดีนั้น จะอาศัยความรู้ความสามารถทางด้านค าศัพท์ ไวยากรณ์และ โครงสร้างภาษาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถช่วยให้ผู้เรียนใช้ภาษาจีนที่เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถสื่อสารกับเจ้าของภาษา ได้ ดังนั้นในการเรียนการสอนภาษาจีน ผู้สอนควรเน้นความสามารถในการสื่อสารของผู้เรียนเป็นหลัก โดยการสอนให้ผู้เรียนเข้าใจถึง สถานการณ์ในการใช้ภาษา และการใช้ภาษาให้เหมาะสมตามสถานการณ์ต่างๆ สามารถเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาจึงจะท าให้ ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้ดีและท าให้ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง การสอนควรเริ่มจากการฝึกพูด ฝึกสนทนาจากสถานณ์จ าลองใกล้ตัวที่พบ ในชีวิตประจ าวัน นอกจากนั้นควรเปลี่ยนจากการท่องศัพท์เป็นค าๆ มาเป็นการท่องวลีหรือประโยคเพื่อช่วยให้สามารถพูดสนทนา ภาษาจีนได้คล่องแคล่วยิ่งขึ้น การที่จะเรียนภาษาจีนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ให้สามารถสนทนาสื่อสารเบื้องต้นได้นั้น ต้องอาศัยความ ร่วมมือกันทั้งผู้เรียนและผู้สอน โดยผู้เรียนต้องไขว่คว้าหาความรู้ใหม่ๆ มีการฝึกฝนในการพูดภาษาจีนอยู่เสมอ ส่วนผู้สอนควรสร้าง แรงจูงใจในการเรียนภาษาจีน สร้างความน่าสนใจ และสอดแทรกวัฒนธรรมของประเทศจีนในเนื้อหาการเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิด ความคุ้นเคยในการสนทนากับเจ้าของภาษา ท้ายนี้หวังว่าบทความฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาทักษะการพูด ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเบื้องต้นให้ได้ผลดีมากยิ่งขึ้น | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | แนวทางการพัฒนา | en_US |
dc.subject | ทักษะการพูดภาษาจีน | en_US |
dc.subject | การสื่อสารเบื้องต้น | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for Developing Chinese Speaking Skills for Basic Communication | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.