Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65972
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สรียา โชติธรรม | en_US |
dc.contributor.author | ณัฐพล แจ้งอักษร | en_US |
dc.contributor.author | สุวิมล ว่องวาณิช | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T08:45:32Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T08:45:32Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | ศึกษาศาสตร๋สาร 2, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 31-44 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-825X | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/167085/120554 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65972 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Journal of Education) เป็นวารสารวิชาการระดับชาติ ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิมพ์เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และองค์ความรู้ใหม่อันเป็นความก้าวหน้าทางวิชาการด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ในยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ของนักวิชาการ อาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการให้ความสำคัญและความคิดเห็นต่อการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการของครูอาจารย์ 2) เปรียบเทียบระดับการรับรู้ของครูอาจารย์เกี่ยวกับการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการในสถานศึกษาก่อนและหลังประกาศนโยบายค่านิยม 12 ประการ และ 3) ศึกษาระดับค่านิยม 12 ประการของผู้เรียนตามการรับรู้ของครูอาจารย์ กลุ่มตัวอย่างคือ ครูอาจารย์ในเขตภาคเหนือ จำนวน 984 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการรับรู้และการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการสำหรับครู ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.81 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูอาจารย์ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการทั้ง 12 ข้อในระดับมาก และเห็นด้วยต่อการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการในประเด็นต่างๆ อยู่ในระดับปานกลางและระดับมาก 2) ครูอาจารย์รับรู้ว่าสถานศึกษาส่งเสริมค่านิยม 12 ประการหลังประกาศนโยบายสูงกว่าก่อนประกาศนโยบายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ครูอาจารย์เห็นว่าในภาพรวมผู้เรียนมีค่านิยม 12 ประการอยู่ในระดับมาก ยกเว้นข้อ 4 ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษา เล่าเรียน ทางตรงและทางอ้อม และข้อ 10 รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ผู้เรียนมีค่านิยมอยู่ในระดับปานกลาง | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ค่านิยม 12 ประการ | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมค่านิยม | en_US |
dc.title | การรับรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการของครูอาจารย์ในสถานศึกษา ในเขตภาคเหนือ | en_US |
dc.title.alternative | Teachers’ perceptions on enhancement of the 12 values in northern educational institutions | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.